รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
1. หลักการวิจัยเบื้องต้นทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 1.1 ความหมายของการวิจัย 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.3 ประเภทของงานวิจัย 1.4 ขั้นตอนที่สำคัญในการวิจัย |
2 | 3 |
|
1. แจกแผนการสอน 2. บรรยาย 3. อภิปรายและตอบคำถาม 4. แบ่งกลุ่ม นศ.นำเสนอตัวอย่างงานวิจัยต่างๆ |
2 |
2. การกำหนดปัญหาวิจัยและการพัฒนากรอบแนวคิด 2.1 การตั้งคำถามวิจัย 2.2 การกำหนดหัวข้อการวิจัยและวัตถุประสงค์การวิจัย 2.3 การพัฒนาแนวคิดที่จะนำไปวิจัย (Conceptualization) 2.4 การพัฒนากรอบแนวคิดในการวิจัย 2.5 การตั้งสมมติฐานการวิจัย |
2 | 3 |
|
1. บรรยาย 2. อภิปรายและตอบคำถาม 3. ปฏิบัติการนศ. แบบฝึกหัดที่ 1 การตั้งคำถามวิจัยและวัตถุประสงค์การวิจัย และสมมติฐานการวิจัยเชิงปริมาณได้ |
3 |
3. การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ 3.1 ประเภทของการวิจัยเชิงปริมาณ 3.2 ตัวแปรและการวัด (Variable and Measurement) 3.3 ระดับของการวัด 3.4 การแปลงแนวคิดที่เป็นนามธรรมสู่การวัดที่เป็นรูปธรรม (Operationalization) |
2 | 3 |
|
1. บรรยาย/ซักถาม 2. อภิปรายและตอบคำถาม 3. ปฏิบัติการ นศ. |
4 |
4. ประชากรเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่าง 4.1 หน่วยในการวิเคราะห์ 4.2 ประชากรเป้าหมาย 4.3 ขนาดตัวอย่าง 4.4 ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง |
2 | 3 |
|
1. บรรยาย/ซักถาม 2. อภิปรายและตอบคำถาม 3. ปฏิบัติการ นศ. แบบฝึกหัดที่ 2กำหนดกลุ่มประชากรและสุ่มตัวอย่างได้ |
5 |
5 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัยเชิงปริมาณ 5.1 การพัฒนาเครื่องมือในการวิจัยเชิงปริมาณ 5.2 ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือวิจัย 5.3 หลักการสร้างคำถามในแบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม 5.4 -ความเที่ยงตรง-ความเชื่อถือได้ |
2 | 3 |
|
1. บรรยาย/ซักถาม 2. อภิปรายและตอบคำถามเกี่ยวกับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.ปฏิบัติการ นศ. แบบฝึกหัดที่ 3 ออกแบบคำถามเพื่อใช้ในการวัด |
6 |
6. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเบื้องต้น -การประมวลผลข้อมูล -แนวทางการประมวลผล -การวิเคราะห์ข้อมูลและแนวทางการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล |
2 | 3 |
|
1. บรรยาย/ซักถาม 2. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล 3. ปฏิบัติการ นศ. |
7 |
7. การเขียนรายงานวิจัยเชิงปริมาณ - รูปแบบการเขียนรายงานวิจัย - ประเภทการเขียนบทความวิจัย - การนำเสนอรายงานวิจัย |
2 | 3 |
|
1. บรรยาย/ซักถาม 2.ตัวอย่างการเขียนผลการวิจัย 3. ปฏิบัติการ นศ. |
8 |
หลักการและลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพ ประเภทของการวิจัยเชิงคุณภาพ -การวิจัยชาติพันธุ์วรรณนา - การศึกษาเฉพาะกรณี - การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม - การวิจัยเพื่อติดตามและประเมินผล - การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ หัวข้อโครงร่างการวิจัย -การคิดหัวข้อวิจัย - หลักการและเหตุผล - แผนการดำเนินงาน |
2 | 3 |
|
1 บรรยาย ตั้งคำถามให้นักศึกษาอภิปรายและยกตัวอย่าง |
9 |
การทบทวนวรรณกรรมทางมานุษยวิทยา - การค้นคว้าหาข้อมูล - การเขียนทบทวนวรรณกรรมทางมานุษยวิทยา - การฝึกเขียน Proposal |
2 | 3 |
|
1. บรรยาย/ซักถาม 2. ปฏิบัติการ นศ. |
10 |
พื้นที่ภาคสนามและการวิจัยเชิงคุณภาพภาคสนาม - ความเป็นมา - ความหมายของพื้นที่ภาคสนาม - ขั้นตอนการทำงานภาคสนาม - การจดบันทึกภาคสนาม |
2 | 3 |
|
1. บรรยาย/ซักถาม 2. ปฏิบัติการ นศ. |
11 |
ระเบียบวิธีวิจัยทางมานุษยวิทยา - ขอบเขตการวิจัย - เครื่องมือและเทคนิคการวิจัย - ตัวตนของผู้วิจัย - การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม -การสัมภาษณ์ในการวิจัยเชิงคุณภาพ -การศึกษาลักษณะประชาการและพื้นที่ |
2 | 3 |
|
1. บรรยาย/ซักถาม 2. ปฏิบัติการ นศ. |
12 |
จริยธรรมการวิจัย - การเปิดเผยตัวตนของผู้วิจัย - การอ้างอิงงานของผู้อื่น - การทำวิจัยเพื่อประโยชน์ทางการเมืองการทหาร - การยินยอมอย่างเข้าใจ - การเคารพสิทธิส่วนตัว - การปกปิดข้อมูล - การปกปิดตัวตน - การตอบแทน |
2 | 3 |
|
1. บรรยาย/ซักถาม 2. ปฏิบัติการ นศ. 3 ทำแบบทดสอบเรื่องจริยธรรมในการวิจัยในคนในเว็บไซต์ของ วช. |
13 - 14 |
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ และการเขียนรายงาน - แนวทางการประมวลข้อมูล - การวิเคราะห์ - การเขียนรายงานวิชาการ - เทคนิคการเขียน - วิธีการอ้างอิง |
4 | 6 |
|
1. บรรยาย/ซักถาม 2. ปฏิบัติการ นศ. |
15 | การฝึกการนำเสนอ | 2 | 3 |
|
1. บรรยาย/ซักถาม 2. ปฏิบัติการ นศ. นักศึกษานำเสนอรายงานตามหัวข้อที่อาจารย์กำหนด |
รวมจำนวนชั่วโมง | 30 | 45 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การสอบกลางภาค |
|
20 | เฉพาะเนื้อหาส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ |
แบบฝึกหัดการวิจัยเชิงปริมาณ |
|
15 | สัปดาห์ที่ 1 - 7 |
รายงานโครงร่างการวิจัยเชิงปริมาณ |
|
10 | สัปดาห์ที่ 8 |
รายงานการสืบค้น |
|
10 | สัปดาห์ที่ 10, 11 |
การเข้าชั้นเรียน |
|
5 | ตลอดภาคการศึกษา |
รายงานการวิจัยเบื้องต้น (โครงร่าง บททบทวนวรรณกรรม และประมวลผล) |
|
20 | เฉพาะเนื้อหาส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพทางมานุษยวิทยา |
การนำเสนอ |
|
10 | สัปดาห์ที่ 15 |
การทดสอบความเข้าใจเรื่องจริยธรรมในการวิจัย |
|
10 | สัปดาห์ที่ 15 |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | งามพิศ สัตย์สงวน. (2551). การวิจัยเชิงคุณภาพทางมานุษยวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ชาย โพธิสิตา. (2552). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สำเริง จันทรสุวรรณ และ สุวรรณ บัวทวน. (2552). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. ขอนแก่น : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | งามพิศ สัตย์สงวน. (2539). การวิจัยทางมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
มาณพ คณะโต. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น : เครือข่ายพัฒนาวิชาการและข้อมูลสารเสพติด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2545). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ :แนวสู่การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. ขอนแก่น : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2540). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภางค์ จันทวานิช. (2540). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Babbie, Earl. (1986). The Practice of Social Research. 4th edition. Belmont, CA.: Wadsworth. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Barrett, Stanley R. (2000). Anthropology: A Student's Guide to Theory and Method. Toronto: University of Toronto Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Bernard, H. Russel. (2006). Research Methods in Anthropology: Qualitative and Quantitative Approaches. 4th edition. Lanham, MD.: AltaMira Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Neuman, Lawrence W. (1997). Social Research Methods: Qualitative and Quantitative Approaches. Boston: Allyn and Bacon. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Ferraro, Gary. (2008). Methods in Cultural Anthropology. In Cultural Anthropology: An Applied Perspective. 7th edition. Pp. 88-113. Belmont, CA: Wadsworth. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Silverman, David, ed. (2004). Qualitative Research: Theory, Method and Practice. London: SAGE Publications. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | กัลยา วานิชย์บัญชา. (2540). การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย SPSS for Windows. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ชาญ วงศ์สามัญ. (2543). การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยด้วยโปรแกรม SPSS for Windows. ขอนแก่น : ขอนแก่นการพิมพ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เทียนฉาย กีระนันทน์. (2537). สังคมศาสตร์วิจัย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | นิศา ชูโต. (2545).การวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : บริษัทแมทส์ปอยท์ จำกัด. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | บัณฑิตวิทยาลัย. (2551). คู่มือการทำวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และปกเจริญผล. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | บุญธรรม จิตติอนันต์. (2540). การวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ์. (2540). การออกแบบการวิจัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุธีระ ประเสริฐสรรพ์. (2545). สรรพสิ่งล้วนวิจัย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Adamms, Gerald R. and Jay D. Schvaneveldt. (1991). Understanding Research Methods. London : Longman. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Alreck, Pamela L. and Robert B. Settle. (1985). The Survey Research Handbook. Homewood, IL: Irwin. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Crawford, Helen J. and Christensen, Larry B. (1995). Developing Research Skills: A Laboratory Manual. 3rd edition. Boston: Allyn and Bacon. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Guy, Rebecca F. and Others. (1987). Sociall Research Methods Puzzle and Solutions. Boston: Allyn and Bacon, Inc. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Leary, Mark R. (1991). Introduction to Behavioral Research Methods. Belmont: Wadsworth Publishing Company. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Miller, Delbert C. (1977). Handbook of Research Design and Social Measurement. New York: Longman. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Moore, Nick. (1984). How to Do Research. London: Library Association. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Yamane, Taro. (1967). Elementary Sampling Theory. Englewood Cliffs, NJ.: Printice-Hall, |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ