Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ นานาชาติ
Applied Linguistics
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2562
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS177203
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
ภาษาอังกฤษ
English name
English for Specific Purposes
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ นานาชาติ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธิดา โง่นคำ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธิดา โง่นคำ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับประเด็นทางทฤษฎีและองค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
    • ประเมินวิธีการวิเคราะห์และการออกแบบโครงการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ได้อย่างดีและตระหนักรู้ถึงการนำวิธีการเหล่านี้ไปใช้ในการทำวิจัย
    • แสดงความเข้าใจได้ว่าสามารถนำทฤษฎีทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • สามารถอ่านและสังเคราะห์งานวิจัยและบทความวิชาการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
      • วิเคราะห์ ระบุปัญหาและแนะนำวิธีการแก้ปัญหาของศาสตร์ด้านนี้
      • สามารถออกแบบงานวิจัยในศาสตร์ด้านนี้
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีความรับผิดชอบ และมีคุณธรรมจริยธรรมในการอ้างอิงผลงาน ไม่คัดลอกผลงาน
      • ในการนำเสนอผลงานสามารถปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับความคาดหมายของวงการวิชาการในระดับนานาชาติได้
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      คำจำกัดความภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ องค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ การออกแบบโครงการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ การประยุกต์ใช้แนวคิดด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ แนวโน้มและปัญหาปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Definitions of English for Specific Purposes; Pillars of English for Specific Purposes; designing English for Specific Purposes project; applying English for Specific Purposes in real-world settings; major trends and current issues in English for Specific Purposes
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Project-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 แนะนำรายวิชา
      Introduction to English for Specific Purposes (ESP)
      3
      • K1: มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับประเด็นทางทฤษฎีและองค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
      • S2: วิเคราะห์ ระบุปัญหาและแนะนำวิธีการแก้ปัญหาของศาสตร์ด้านนี้
      • C1: มีความรับผิดชอบ และมีคุณธรรมจริยธรรมในการอ้างอิงผลงาน ไม่คัดลอกผลงาน
      1. แนะนำเนื้อหารายวิชา learning outcomes วิธีการเรียนการสอนด้วยระบบออนไลน์ผ่าน โปรแกรม Zoom และ การใช้ KKU e-learning อภิปรายการวัดและการประเมินผลร่วมกัน
      2. สอนภาคทฤษฏี
      2.1 อธิบาย concepts ของ ESP และเหตุผลของการศึกษาศาสตร์นี้
      2.2 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Overview of ESP และอภิปรายร่วมกัน
      2-3 ESP and Speaking
      - Pedagogy
      - Research
      - Current practices, challenges, and innovations
      6
      • K1: มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับประเด็นทางทฤษฎีและองค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
      • S1: สามารถอ่านและสังเคราะห์งานวิจัยและบทความวิชาการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
      • S2: วิเคราะห์ ระบุปัญหาและแนะนำวิธีการแก้ปัญหาของศาสตร์ด้านนี้
      • C1: มีความรับผิดชอบ และมีคุณธรรมจริยธรรมในการอ้างอิงผลงาน ไม่คัดลอกผลงาน
      1. สอนภาคทฤษฏี
      1.1 อธิบาย concepts ของ ESP ในทักษะการพูด
      1.2 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Overview of ESP and Speaking Skills และอภิปรายร่วมกัน
      1.3 อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการสอนทักษะการพูดที่เกี่ยวข้องกับ ESP
      1.4 นักศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Pedagogy of ESP in Speaking Skills และอภิปรายร่วมกัน
      1.5 อธิบายแนวคิดในการพัฒนางานวิจัยด้าน ESP and Speaking Skills
      1.6 นักศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Research perspectives and Future Research in ESP and Speaking Skills และร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ current practices, challenges, and innovations ในการเรียนการสอนและการทำวิจัยที่เกี่ยวกับ ESP and Speaking Skills
      2. นักศึกษาสามารถปรึกษากันได้ผ่านทางไลน์ หรือระบบต่างๆ ตามต้องการ เมื่อทำงานเสร็จอาจารย์สอน อธิบายเพิ่มเติมผ่าน ppt ที่ได้เตรียมสรุปไว้
      3. ทบทวนแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการพัฒนาประเด็นวิจัย
      4.ฝึกปฏิบัติการกำหนดประเด็นปัญหาวิจัยจากงานวิจัยด้าน ESP and Speaking Skills เพิ่มเติม

      หมายเหตุ: การเรียนการสอนผ่าน Microsoft Team / Zoom /Meet
      4-6 ESP and Listening
      - Pedagogy
      - Research
      - Current practices, challenges, and innovations
      9
      • K1: มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับประเด็นทางทฤษฎีและองค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
      • K2: ประเมินวิธีการวิเคราะห์และการออกแบบโครงการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ได้อย่างดีและตระหนักรู้ถึงการนำวิธีการเหล่านี้ไปใช้ในการทำวิจัย
      • C1: มีความรับผิดชอบ และมีคุณธรรมจริยธรรมในการอ้างอิงผลงาน ไม่คัดลอกผลงาน
      1. สอนภาคทฤษฏี
      1.1อธิบาย concepts ของ ESP ในทักษะการฟัง ผ่าน audio clip พร้อม ppt
      1.2 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Overview of ESP and Listening Skills และอภิปรายร่วมกัน
      1.3 อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการสอนทักษะการฟังที่เกี่ยวข้องกับ ESP
      1.4 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Pedagogy of ESP in Listening Skills และอภิปรายร่วมกัน
      1.5 อธิบายแนวคิดในการพัฒนางานวิจัยด้าน ESP and Listening Skills
      1.6 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Research perspectives and Future Research in ESP and Listening Skills และร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ current practices, challenges, and innovations ในการเรียนการสอนและการทำวิจัยที่เกี่ยวกับ ESP and Speaking Skills
      2. นักศึกษาสามารถปรึกษากันได้ผ่านทางไลน์ หรือระบบต่างๆ ตามต้องการ เมื่อทำงานเสร็จอาจารย์สอน อธิบายเพิ่มเติมผ่าน ppt ที่ได้เตรียมสรุปไว้
      3. ทบทวนแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการพัฒนาประเด็นวิจัย
      4.ฝึกปฏิบัติการกำหนดประเด็นปัญหาวิจัยจากงานวิจัยด้าน ESP and Listening Skills เพิ่มเติม
      หมายเหตุ: การเรียนการสอนผ่าน Microsoft Team / Zoom /Meet
      7-8 ESP in CLIL and EAP
      - Pedagogy
      - Research
      - Current practices, challenges, and innovations
      6
        1. สอนภาคทฤษฏี
        1.1อธิบาย concepts ของ ESP ในการเรียนรู้ตามแนวการบูรณาการ เนื้อหาและภาษา และ ในภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
        1.2 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Overview of ESP in CLIL and EAP และอภิปรายร่วมกัน
        1.3 อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ตามแนวการบูรณาการ เนื้อหาและภาษา และ ในภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
        1.4 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Pedagogy of ESP in CLIL and EAP และอภิปรายร่วมกัน
        1.5 อธิบายแนวคิดในการพัฒนางานวิจัยด้าน ESP in CLIL and EAP
        1.6 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Research perspectives and Future Research about ESP in CLIL and EAP และร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ current practices, challenges, and innovations ในการเรียนการสอนและการทำวิจัยที่เกี่ยวกับ ESP in CLIL and EAP
        2. นักศึกษาสามารถปรึกษากันได้ผ่านทางไลน์ หรือระบบต่างๆ ตามต้องการ เมื่อทำงานเสร็จอาจารย์สอน อธิบายเพิ่มเติมผ่าน ppt ที่ได้เตรียมสรุปไว้
        3. ทบทวนแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการพัฒนาประเด็นวิจัย
        4.ฝึกปฏิบัติการกำหนดประเด็นปัญหาวิจัยจากงานวิจัยด้านESP in CLIL and EAP เพิ่มเติม

        หมายเหตุ: การเรียนการสอนผ่าน Microsoft Team / Zoom /Meet
        9-12 ESP and Reading
        - Pedagogy
        - Research
        - Current practices, challenges, and innovations
        12
        • K1: มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับประเด็นทางทฤษฎีและองค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
        • K2: ประเมินวิธีการวิเคราะห์และการออกแบบโครงการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ได้อย่างดีและตระหนักรู้ถึงการนำวิธีการเหล่านี้ไปใช้ในการทำวิจัย
        • S2: วิเคราะห์ ระบุปัญหาและแนะนำวิธีการแก้ปัญหาของศาสตร์ด้านนี้
        • S3: สามารถออกแบบงานวิจัยในศาสตร์ด้านนี้
        • C1: มีความรับผิดชอบ และมีคุณธรรมจริยธรรมในการอ้างอิงผลงาน ไม่คัดลอกผลงาน
        1. สอนภาคทฤษฏี
        1.1อธิบาย concepts ของ ESP ในทักษะการอ่าน ผ่าน audio clip พร้อม ppt
        1.2 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Overview of ESP and Reading Skills และอภิปรายร่วมกัน
        1.3 อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการสอนทักษะการอ่านที่เกี่ยวข้องกับ ESP
        1.4 นักศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Pedagogy of ESP in Reading Skills และอภิปรายร่วมกัน
        1.5 อธิบายแนวคิดในการพัฒนางานวิจัยด้าน ESP and Reading Skills
        1.6 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Research perspectives and Future Research in ESP and Reading Skills และร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ current practices, challenges, and innovations ในการเรียนการสอนและการทำวิจัย
        2. นักศึกษาสามารถปรึกษากันได้ผ่านทางไลน์ หรือระบบต่างๆ ตามต้องการ เมื่อทำงานเสร็จอาจารย์สอน อธิบายเพิ่มเติมผ่าน ppt ที่ได้เตรียมสรุปไว้
        3. ทบทวนแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการพัฒนาประเด็นวิจัย
        4.ฝึกปฏิบัติการกำหนดประเด็นปัญหาวิจัยจากงานวิจัยด้าน ESP and Reading Skills เพิ่มเติม
        หมายเหตุ: การเรียนการสอนผ่าน Microsoft Team / Zoom /Meet
        13 ESP and Writing
        - Pedagogy
        - Research
        - Current practices, challenges, and innovations
        3
        • K1: มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับประเด็นทางทฤษฎีและองค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
        • S2: วิเคราะห์ ระบุปัญหาและแนะนำวิธีการแก้ปัญหาของศาสตร์ด้านนี้
        • C1: มีความรับผิดชอบ และมีคุณธรรมจริยธรรมในการอ้างอิงผลงาน ไม่คัดลอกผลงาน
        1. สอนภาคทฤษฏี
        1.1อธิบาย concepts ของ ESP ในทักษะการเขียน ผ่าน audio clip พร้อม ppt
        1.2 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Overview of ESP and Writing Skills และอภิปรายร่วมกัน
        1.3 อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการสอนทักษะการเขียนที่เกี่ยวข้องกับ ESP
        1.4 นักศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Pedagogy of ESP in Writing Skills และอภิปรายร่วมกัน
        1.5 อธิบายแนวคิดในการพัฒนางานวิจัยด้าน ESP and Writing Skills
        1.6 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Research perspectives and Future Research in ESP and Writing Skills และร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ current practices, challenges, and innovations ในการเรียนการสอนและการทำวิจัย
        2. นักศึกษาสามารถปรึกษากันได้ผ่านทางไลน์ หรือระบบต่างๆ ตามต้องการ เมื่อทำงานเสร็จอาจารย์สอน อธิบายเพิ่มเติมผ่าน ppt ที่ได้เตรียมสรุปไว้
        3. ทบทวนแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการพัฒนาประเด็นวิจัย
        4.ฝึกปฏิบัติการกำหนดประเด็นปัญหาวิจัยจากงานวิจัยด้านESP and Writing Skills เพิ่มเติม

        หมายเหตุ: การเรียนการสอนผ่าน Microsoft Team / Zoom /Meet
        14 ESP and Vocabulary
        - Pedagogy
        - Research
        - Current practices, challenges, and innovations
        3
        • K1: มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับประเด็นทางทฤษฎีและองค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
        • S2: วิเคราะห์ ระบุปัญหาและแนะนำวิธีการแก้ปัญหาของศาสตร์ด้านนี้
        • C1: มีความรับผิดชอบ และมีคุณธรรมจริยธรรมในการอ้างอิงผลงาน ไม่คัดลอกผลงาน
        1. สอนภาคทฤษฏี
        1.1อธิบาย concepts ของ ESP ในการเรียนคำศัพท์ ผ่าน audio clip พร้อม ppt
        1.2 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Overview of ESP and Vocabulary Learning และอภิปรายร่วมกัน
        1.3 อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการสอนคำศัพท์ ที่เกี่ยวข้องกับ ESP
        1.4 นักศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Pedagogy of ESP in Vocabulary Learning และอภิปรายร่วมกัน
        1.5 อธิบายแนวคิดในการพัฒนางานวิจัยด้าน ESP and Vocabulary Learning
        1.6 นักศึกษาศึกษาอ่านเอกสารเกี่ยวกับ Research perspectives and Future Research in ESP and Learning และร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ current practices, challenges, and innovations ในการเรียนการสอนและการทำวิจัย
        2. นักศึกษาสามารถปรึกษากันได้ผ่านทางไลน์ หรือระบบต่างๆ ตามต้องการ เมื่อทำงานเสร็จอาจารย์สอน อธิบายเพิ่มเติมผ่าน ppt ที่ได้เตรียมสรุปไว้
        3. ทบทวนแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการพัฒนาประเด็นวิจัย
        4.ฝึกปฏิบัติการกำหนดประเด็นปัญหาวิจัยจากงานวิจัยด้านESP and Vocabulary Learning เพิ่มเติม

        หมายเหตุ: การเรียนการสอนผ่าน Microsoft Team / Zoom /Meet
        15 Research project presentation 3
        • K1: มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับประเด็นทางทฤษฎีและองค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
        • S2: วิเคราะห์ ระบุปัญหาและแนะนำวิธีการแก้ปัญหาของศาสตร์ด้านนี้
        • C1: มีความรับผิดชอบ และมีคุณธรรมจริยธรรมในการอ้างอิงผลงาน ไม่คัดลอกผลงาน
        • C2: ในการนำเสนอผลงานสามารถปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับความคาดหมายของวงการวิชาการในระดับนานาชาติได้
        1. นักศึกษานำเสนอผลงานวิจัยและส่งบทความวิจัยนักศึกษา โดยทำเป็น Clip VDO นำเสนอ

        หมายเหตุ: การเรียนการสอนผ่าน Microsoft Team หรือ Zoom
        รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
        8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
             Course assessment
        วิธีการประเมิน
        Assessment Method
        CLO สัดส่วนคะแนน
        Score breakdown
        หมายเหตุ
        Note
        โครงงานชิ้นที่ 1
        • K1: มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับประเด็นทางทฤษฎีและองค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
        • K2: ประเมินวิธีการวิเคราะห์และการออกแบบโครงการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ได้อย่างดีและตระหนักรู้ถึงการนำวิธีการเหล่านี้ไปใช้ในการทำวิจัย
        • K3: แสดงความเข้าใจได้ว่าสามารถนำทฤษฎีทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
        • S1: สามารถอ่านและสังเคราะห์งานวิจัยและบทความวิชาการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
        • S2: วิเคราะห์ ระบุปัญหาและแนะนำวิธีการแก้ปัญหาของศาสตร์ด้านนี้
        • S3: สามารถออกแบบงานวิจัยในศาสตร์ด้านนี้
        25
        โครงงานชิ้นที่ 2
        • K1: มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับประเด็นทางทฤษฎีและองค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
        • K2: ประเมินวิธีการวิเคราะห์และการออกแบบโครงการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ได้อย่างดีและตระหนักรู้ถึงการนำวิธีการเหล่านี้ไปใช้ในการทำวิจัย
        • K3: แสดงความเข้าใจได้ว่าสามารถนำทฤษฎีทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
        • S1: สามารถอ่านและสังเคราะห์งานวิจัยและบทความวิชาการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
        • S2: วิเคราะห์ ระบุปัญหาและแนะนำวิธีการแก้ปัญหาของศาสตร์ด้านนี้
        25
        งานวิจัย และบทความวิจัย
        • K1: มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับประเด็นทางทฤษฎีและองค์ประกอบของภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
        • K2: ประเมินวิธีการวิเคราะห์และการออกแบบโครงการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ได้อย่างดีและตระหนักรู้ถึงการนำวิธีการเหล่านี้ไปใช้ในการทำวิจัย
        • K3: แสดงความเข้าใจได้ว่าสามารถนำทฤษฎีทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
        • S1: สามารถอ่านและสังเคราะห์งานวิจัยและบทความวิชาการด้านภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
        • S2: วิเคราะห์ ระบุปัญหาและแนะนำวิธีการแก้ปัญหาของศาสตร์ด้านนี้
        • S3: สามารถออกแบบงานวิจัยในศาสตร์ด้านนี้
        • A1: มีความรับผิดชอบ และมีคุณธรรมจริยธรรมในการอ้างอิงผลงาน ไม่คัดลอกผลงาน
        • A2: ในการนำเสนอผลงานสามารถปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับความคาดหมายของวงการวิชาการในระดับนานาชาติได้
        50
        สัดส่วนคะแนนรวม 100
        9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
             Textbook and instructional materials
        ประเภทตำรา
        Type
        รายละเอียด
        Description
        ประเภทผู้แต่ง
        Author
        ไฟล์
        File
        หนังสือ หรือ ตำรา Paltridge, B. & Startfield, S. (2012). The Handbook of English for Specific Purposes. Oxford: John Wiley & Sons, Inc.
        หนังสือ หรือ ตำรา Woodrow, L. (2017). Introducing Course Design in English for Specific Purposes. London: Routledge.
        หนังสือ หรือ ตำรา Basturkmen, H. (2005). Ideas and Options in English for Specific Purposes: ESL and applied linguistics professional series. London: Routledge.
        หนังสือ หรือ ตำรา Hyland, K. & Shaw, P. (2020).The Routledge Handbook of English for Academic Purposes. London: Routledge.
        แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ https://www.journals.elsevier.com/english-for-specific-purposes
        แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ https://www.journals.elsevier.com/english-for-specific-purposes/recent-articles
        10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
             Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
        การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
        Evaluation of course effectiveness and validation
        • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
        • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
        การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
        Improving Course instruction and effectiveness
        • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
        • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
        ผลการเรียนรู้
        Curriculum mapping
        1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

        รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
        หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ นานาชาติ (หลักสูตรปรับปรุง 2562)

        1. คุณธรรมและจริยธรรม
        1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
        1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ

        2. ความรู้
        2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
        2.2 สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาศาสตร์ได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ ๆ ได้
        2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ รวมถึงงานวิจัย ที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือแนวปฏิบัติในสาขาวิชาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

        3. ทักษะทางปัญญา
        3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ และพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ โดยบูรณาการความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
        3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ

        4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
        4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทำงานของกลุ่ม
        4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้

        5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
        5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัย ในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
        5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้