Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS611101
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาศาสตร์ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
English name
THAI LINGUISTICS
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง 2559)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
จริยธรรม
Ethics
  • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • นักศึกษามีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
ทักษะ
Skills
  • มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • สามารถอ่านและเขียนสัทสัญลักษณ์ระบบ IPA ได้
  • สามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์วิเคราะห์ภาษาได้
ลักษณะบุคคล
Character
  • นักศึกษามีทักษะในการสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ทั่วไป และภาษาศาสตร์ภาษาไทยอย่างมีระบบ
  • นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภาษาไทยโดยใช้มุมมองทางภาษาศาสตร์
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค ความหมาย ทฤษฎีภาษาศาสตร์เพื่อการวิเคราะห์ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
English
General knowledge in linguistics; study of phonetics, morphology, syntax, and semantics; linguistics theories for Thai language analysis
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Classroom-based learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Content and language integrated learning
  • Flipped classroom
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 แนะนำรายวิชาและข้อตกลงเบื้องต้น
- มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาจาก VDO clips ที่กำหนดให้
3
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
(1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานทั้งระบบออนไซต์ และระบบออนไลน์ผ่าน Google Classroom และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน
(2) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 1 ประกอบกับ VDOclip บันทึกการสอนบทที่ 1
(3) มอบหมายให้นักศึกษาตอบคำถามในแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 เพื่อเตรียมนำมาอภิปรายกันในชั้นเรียนในสัปดาห์ที่ 2


2-3 บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษา และภาษาศาสตร์ 6
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
(1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน
(2) อภิปรายรวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในบทที่ 1
(3) อภิปรายคำตอบแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 ร่วมกัน
(4) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนในบทที่ 2 ประกอบกับ VDOclip บันทึกการสอนบทที่ 2
(5) มอบหมายให้นักศึกษาตอบคำถามในแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2เพื่อเตรียมนำมาอภิปรายกันในชั้นเรียนในสัปดาห์ที่ 4

4-6 บทที่ 2 การเกิดเสียงในภาษา 9
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
(1) พบนักศึกษาในชันเรียน
(2) สุ่มนักศึกษาตอบคำถามจากแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 และอภิปรายคำตอบร่วมกัน
(3) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนในบทที่ 3 ประกอบกับ VDOclip บันทึกการสอนในบทที่ 3
(4) มอบหมายให้นักศึกษาตอบคำถามจากแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 เพื่อนำมาอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนในคาบเรียนที่ 7
(5) มอบหมายงาน Infographic จากเนื้อหาในบทที่ 1-2 คะแนนเต็ม 10 คะแนน


7-8 บทที่ 3 ระบบเสียงและการถ่ายเสียงในภาษาไทย 6
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • S2: สามารถอ่านและเขียนสัทสัญลักษณ์ระบบ IPA ได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • C1: นักศึกษามีทักษะในการสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ทั่วไป และภาษาศาสตร์ภาษาไทยอย่างมีระบบ
(1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน
(2) สุ่มนักศึกษาตอบคำถามท้ายบทที่ 3 และอภิปรายคำตอบร่วมกัน
(3) สรุปสาระสำคัญในบทที่ 1-3 เพื่อเตรียมตัวสอบกลางภาค
(4) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 4 ประกอบกับ VDOclip บันทึกการสอนบทที่ 4 เพื่อเตรียมอภิปรายในสัปดาห์ที่ 10

10-11 บทที่ 4 หน่วยคำ และระบบคำในภาษาไทย 6
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • S3: สามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์วิเคราะห์ภาษาได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • C1: นักศึกษามีทักษะในการสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ทั่วไป และภาษาศาสตร์ภาษาไทยอย่างมีระบบ
(1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน
(2) นำเข้าสู่เนื้อหาบทที่ 4 ด้วย Pre-Test ใน Kahoot
(3) อภิปรายและตอบข้อซักถามจากเนื้อหาในบทที่ 4
(4) สุ่มนักศึกษาตอบคำถามท้ายบทที่ 4
(5) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาบันทึกการสอนบทที่ 5 เพื่อเตรียมอภิปรายในสัปดาห์ที่ 12
(6) มอบหมายให้นักศึกษาตอบคำถามท้ายบทที่ 5 หลังจากศึกษาจาก VDOclip บันทึกการสอนบทที่ 5 แล้ว เพื่อเตรียมอภิปรายในสัปดาห์ที่ 12


12 บทที่ 5 ระบบประโยค 3
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • S3: สามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์วิเคราะห์ภาษาได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • C1: นักศึกษามีทักษะในการสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ทั่วไป และภาษาศาสตร์ภาษาไทยอย่างมีระบบ
  • C2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภาษาไทยโดยใช้มุมมองทางภาษาศาสตร์
(1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน
(2) นำเข้าสู่เนื้อหาบทที่ 5 ด้วย Pre-Test ใน Quizizz
(3) อภิปรายและตอบข้อซักถามจากเนื้อหาในบทที่ 5
(4) ทำข้อสอบ Post-Test ใน Quizizz
(5) เฉลยข้อสอบ และสรุปเนื้อหาบทที่ 5
(6) มอบหมายให้นักศึกษาสรุปสาระสำคัญจาก VDOclip บันทึกการสอนบทที่ 6 เพื่อเตรียมอภิปรายในสัปดาห์ที่ 13
(7) มอบหมายให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 หลังจากศึกษาจาก VDOclip บันทึกการสอนบทที่ 6 แล้ว

13-14 บทที่ 6 การศึกษาความหมายของคำในภาษาไทย 6
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • S3: สามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์วิเคราะห์ภาษาได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • C1: นักศึกษามีทักษะในการสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ทั่วไป และภาษาศาสตร์ภาษาไทยอย่างมีระบบ
  • C2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภาษาไทยโดยใช้มุมมองทางภาษาศาสตร์
(1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน
(2) นำเข้าสู่เนื้อหาบทที่ 6 ด้วยการตอบคำถามในเกม Booklet
(3) อภิปรายและตอบข้อซักถามจาก VDO clip 7 และเนื้อหาในบทที่ 6
(4) สุ่มนักศึกษาตอบคำถามท้ายบทที่ 6 และอภิปรายคำตอบร่วมกัน
(5) สรุปสาระสำคัญในบทที่ 4-6 เพื่อเตรียมตัวสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2 ในสัปดาห์ที่ 15
(6) มอบหมายให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มทำงาน 3-5 คน ตามประเด็นการวิเคราะห์สถานการณ์ภาษาไทย
ในปัจจุบันที่กำหนดให้ เพื่อนำเสนอในสัปดาห์ 15-16
15-16 การนำเสนองานกลุ่ม 6
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • S3: สามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์วิเคราะห์ภาษาได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
  • C1: นักศึกษามีทักษะในการสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ทั่วไป และภาษาศาสตร์ภาษาไทยอย่างมีระบบ
  • C2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภาษาไทยโดยใช้มุมมองทางภาษาศาสตร์
(1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน
(2) นำเสนองานกลุ่ม
(3) อภิปรายและตอบข้อซักถามร่วมกันจากการนำเสนองานกลุ่ม
(4) สรุปเนื้อหาสาระสำคัญจากการนำเสนองานกลุ่ม และสรุปเนื้อหาที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ในการสอบปลายภาค


รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
การเข้าเรียนในชั้นเรียน, การมีส่วนร่วมใน Discussion Forum
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • S3: สามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์วิเคราะห์ภาษาได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • A1: นักศึกษามีทักษะในการสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ทั่วไป และภาษาศาสตร์ภาษาไทยอย่างมีระบบ
  • A2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภาษาไทยโดยใช้มุมมองทางภาษาศาสตร์
20 สัปดาห์ที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 10, 11, 12, 13, 15, 16
การนำเสนองานกลุ่ม
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • S3: สามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์วิเคราะห์ภาษาได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
  • A1: นักศึกษามีทักษะในการสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ทั่วไป และภาษาศาสตร์ภาษาไทยอย่างมีระบบ
  • A2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภาษาไทยโดยใช้มุมมองทางภาษาศาสตร์
10 สัปดาห์ที่ 15, 16
แบบฝึกหัดสร้าง infographic
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • S2: สามารถอ่านและเขียนสัทสัญลักษณ์ระบบ IPA ได้
  • S3: สามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์วิเคราะห์ภาษาได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
  • A1: นักศึกษามีทักษะในการสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ทั่วไป และภาษาศาสตร์ภาษาไทยอย่างมีระบบ
  • A2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภาษาไทยโดยใช้มุมมองทางภาษาศาสตร์
10 สัปดาห์ที่ 6
สอบกลางภาค
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • S2: สามารถอ่านและเขียนสัทสัญลักษณ์ระบบ IPA ได้
  • S3: สามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์วิเคราะห์ภาษาได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
  • A1: นักศึกษามีทักษะในการสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ทั่วไป และภาษาศาสตร์ภาษาไทยอย่างมีระบบ
  • A2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภาษาไทยโดยใช้มุมมองทางภาษาศาสตร์
30 สัปดาห์ที่ 9
สอบปลายภาค
  • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทย
  • S1: มีความรู้และเข้าใจเรื่องสัทศาสตร์ ระบบเสียง ระบบคำ ระบบประโยค และความหมายในภาษาไทยได้
  • S3: สามารถใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์วิเคราะห์ภาษาได้
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
  • A1: นักศึกษามีทักษะในการสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ทั่วไป และภาษาศาสตร์ภาษาไทยอย่างมีระบบ
  • A2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภาษาไทยโดยใช้มุมมองทางภาษาศาสตร์
30 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
หนังสือ หรือ ตำรา กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์. เอกสารประกอบการสอน วิชา ภาษาศาสตร์ภาษาไทย. ขอนแก่น : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2560.
หนังสือ หรือ ตำรา กรรณิการ์ ช่อไม้ทอง. สรวิทยา 1. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2547.
หนังสือ หรือ ตำรา กัลยา ติงศภัทิย์, มรว. , นภาลัย สุวรรณธาดา และ วิจินต์ ภาณุพงศ์. ภาษาไทย 3 หน่วยที่ 1-6. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2540.
หนังสือ หรือ ตำรา กาญจนา นาคสกุล. ระบบเสียงภาษาไทย . พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2541.
หนังสือ หรือ ตำรา จินดา งามสุทธิ. ภาษาศาสตร์ภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2524.
หนังสือ หรือ ตำรา ดิเรกชัย มหัทธนะสิน. หน่วยคำภาษาไทย . กรุงเทพฯ : บูรพาสาส์น. 2528.
หนังสือ หรือ ตำรา เทียนมณี บุญจุน. สัทศาสตร์ : ระบบเสียงในภาษาอังกฤษและภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2548.
หนังสือ หรือ ตำรา นันทนา รณเกียรติ. สัทศาสตร์ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2548.
หนังสือ หรือ ตำรา นิสา ศักดิ์เดชยนต์, ยุพา ส่งศิริ และใจเอื้อ บูรณะสมบัติ. ภาษาศาสตร์สำหรับครู. กรุงเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมศึกษาครู. 2526.
หนังสือ หรือ ตำรา ประยุทธ กุยสาคร. ภาษาไทยเชิงภาษาศาสตร์. กรุงเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมฝึกหัดครู. 2527.
หนังสือ หรือ ตำรา ปราณี กุลละวณิชย์. แบบลักษณ์ภาษา. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2545.
หนังสือ หรือ ตำรา ราชบัณฑิตยสถาน. ศัพท์ภาษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตย์สถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. 2546.
หนังสือ หรือ ตำรา เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์. สัทอักษรไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. 2525.
หนังสือ หรือ ตำรา วิจินตน์ ภาณุพงศ์. โครงสร้างภาษาไทย : ระบบไวยากรณ์. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ป.สัมพันธ์ พาณิชย์. 2524.
หนังสือ หรือ ตำรา เสาวรัตน์ ดาราวงษ์. คำผสานและที่มาของหน่วยผสานในภาษาไทย. กรุงเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมฝึกหัดครู. 2520.
หนังสือ หรือ ตำรา อมรา ประสิทธิรัฐสินธุ์, ยุพาพรรณ หุ่นจำลอง และสรัญญา เศวตมาลย์. ทฤษฎีไวยากรณ์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. 2544.
หนังสือ หรือ ตำรา อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา ภาษา : ความรู้เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัย
รามคำแหง. 2541.
หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล ภาษาศาสตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2535.
หนังสือ หรือ ตำรา ภาษาไทย 3 หน่วยที่ 7-15. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2540.
หนังสือ หรือ ตำรา ภาษาศาสตร์เหมาะสมัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ต้นธรรม, ม.ป.ป.
หนังสือ หรือ ตำรา มุมต่างทางภาษาตามวิถีภาษาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย, ม.ป.ป.
หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล ไวยากรณ์ไทยในภาษาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2542.
หนังสือ หรือ ตำรา แฮริส, จิมมี่ จี. และธีรพันธ์ วงศ์ไทย. แบบฝึกหัดการวิเคราะห์เสียงในภาษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2516.
หนังสือ หรือ ตำรา Peter Ladefoged. สัทศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. แปลจาก A Course in Phonetics. โดย อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล.
สมุทรปราการ : บริษัทพงษ์วรินการพิมพ์ จำกัด, 2552.
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
  • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ