Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกพัฒนาสังคม
Major in Social Development
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS433501
ภาษาไทย
Thai name
แนวคิดและกระบวนการพัฒนาชุมชน
ภาษาอังกฤษ
English name
CONCEPTS AND PROCESS OF COMMUNITY DEVELOPMENT
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-1-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรพร วีระนาคินทร์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรพร วีระนาคินทร์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฎีการพัฒนากระแสหลัก แนวคิดเชิงวิพากษ์ ในการศึกษาและพัฒนาชุมชนได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีการอ้างอิงผลงานตามหลักวิชาการ
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษาเข้าใจในธรรมชาติของชุมชนสังคมไทย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพนักพัฒนา
    • นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนา แนวคิดเชิงวิพากษ์และทฤษฎีการพัฒนากระแสหลัก ทฤษฎีการพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับความยากจนของประชาสังคม การมีส่วนร่วมของประชาชนและความอยู่ดีมีสุข
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Philosophy, scopes and meanings of development critical concepts and theories of mainstream development, development strategies related to poverty of civil society, people participation and well-being
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    • Work integrated learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Task-based learning
    • Case discussion
    • Seminar
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 - แนะนำขอบข่ายรายวิชาและการเรียนการสอน
    หน่วยที่ 1 ปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชน
    1.1 ปรัชญาของการพัฒนาชุมชน
    1.2 ขอบเขตของการพัฒนาชุมชน
    1.3 ความหมายของการพัฒนาชุมชน
    1.4 โครงสร้างและลักษณะของชุมชนไทย
    2
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • S2: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    • C1: นักศึกษาเข้าใจในธรรมชาติของชุมชนสังคมไทย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพนักพัฒนา
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.แนะนำรายวิชา/ชี้แจงกระบวนการเรียนการสอน และการส่งงานผ่านระบบ KKU E-Learning และโปรแกรม Google Classroom
    2.นักศึกษาทำ Pre-test
    3.บรรยายผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    4.นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย พร้อมแบ่งกลุ่มสำหรับทำใบงาน
    5.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย

    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.เอกสารแผนการสอน, 2.PowerPoint, 3.Multimedia (YouTube), 4.Pre-test
    2 หน่วยที่ 2 ทฤษฎีการพัฒนากระแสหลักที่ใช้ในการศึกษาชุมชน
    2.1 ทฤษฎีวิวัฒนาการ
    2.2 ทฤษฎีความเจริญเติบโต
    2.3 ทฤษฎีความทันสมัย
    2.4 แนวคิดเสรีนิยมใหม่
    2.5 แนวคิดทุนทางสังคมกับการพัฒนา

    2
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • S2: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    • C2: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย ผ่านโปรแกรม Google Meet หรือในชั้นเรียน
    3.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย

    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.Multimedia (YouTube)
    3 หน่วยที่ 3 แนวคิดเชิงวิพากษ์ที่ใช้ในการศึกษาชุมชน
    3.1 พัฒนาการของแนวคิดเชิงวิพากษ์
    3.2 แนวคิดมาร์กซิสต์
    3.3 แนวคิดมาร์กซิสต์ใหม่
    3.4 แนวคิดหลังทันสมัย
    2
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • K2: นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฎีการพัฒนากระแสหลัก แนวคิดเชิงวิพากษ์ ในการศึกษาและพัฒนาชุมชนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • S2: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    • E1: นักศึกษามีการอ้างอิงผลงานตามหลักวิชาการ
    • C1: นักศึกษาเข้าใจในธรรมชาติของชุมชนสังคมไทย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพนักพัฒนา
    • C2: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษาทำแบบฝึกหัด Case Discussion (ใบงานที่ 1 งานกลุ่ม) ผ่านระบบ KKU E-Learning หรือ Google Classroom
    3.นักศึกษานำเสนอผลงาน นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย ผ่านโปรแกรม Google Meet หรือในชั้นเรียน
    4.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย
    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.Multimedia (YouTube), 3.ใบงานที่ 1 (งานกลุ่ม)
    4 หน่วยที่ 4 กระบวนการพัฒนาชุมชน
    4.1 หลักการพัฒนาชุมชน
    4.2 วิธีการพัฒนาชุมชน
    4.3 กระบวนการพัฒนาชุมชนโดยหน่วยงานภาครัฐ
    4.4 กระบวนการพัฒนาชุมชนโดยหน่วยงานเอกชนและภาคประชาสังคม

    หน่วยที่ 5 การมีส่วนร่วมของชุมชนในงานพัฒนา
    5.1 ความหมายและความสำคัญของการมีส่วนร่วม
    5.2 ขั้นตอน เงื่อนไข และระดับของการมีส่วนร่วม
    5.3 ปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วมในงานพัฒนา
    2
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • S2: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    • E1: นักศึกษามีการอ้างอิงผลงานตามหลักวิชาการ
    • C1: นักศึกษาเข้าใจในธรรมชาติของชุมชนสังคมไทย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพนักพัฒนา
    • C2: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษาทำแบบฝึกหัด Case Discussion (ใบงานที่ 2 งานกลุ่ม) ผ่านระบบ KKU E-Learning หรือ Google Classroom
    3.นักศึกษานำเสนอผลงานนักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย ผ่านโปรแกรม Google Meet หรือในชั้นเรียน
    4.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย

    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.Multimedia (YouTube), 3.ใบงานที่ 2 (งานกลุ่ม)
    5 หน่วยที่ 6 ความอยู่ดีมีสุขของประชาชน
    6.1 ความหมายของความอยู่ดีมีสุข
    6.2 องค์ประกอบของความอยู่ดีมีสุข
    6.3 ตัวชี้วัดความอยู่ดีมีสุข
    2
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • K2: นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฎีการพัฒนากระแสหลัก แนวคิดเชิงวิพากษ์ ในการศึกษาและพัฒนาชุมชนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • S2: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    • C1: นักศึกษาเข้าใจในธรรมชาติของชุมชนสังคมไทย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพนักพัฒนา
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษานำเสนอผลงานนักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย ผ่านโปรแกรม Google Meet หรือในชั้นเรียน
    3.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย
    4.นักศึกษาสอบย่อย

    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.Multimedia (YouTube), 3.สอบย่อย
    6 หน่วยที่ 7 ยุทธศาสตร์การพัฒนากับความยากจนของประชาสังคม
    7.1 ความหมายและประเภทของยุทธศาสตร์การพัฒนา
    7.2 ความยากจน
    7.3 การแก้ไขปัญหาความยากจนโดยภาครัฐ
    7.4 การแก้ไขปัญหาความยากจนโดยประชาสังคม
    2
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • S2: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    • C1: นักศึกษาเข้าใจในธรรมชาติของชุมชนสังคมไทย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพนักพัฒนา
    • C2: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยบรรยายผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษานำเสนอผลงานนักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันในแต่ละหน่วย ผ่านโปรแกรม Google Meet หรือในชั้นเรียน
    3.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย
    4.นักศึกษาทำ Post-test

    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.Multimedia (YouTube), 3.Post-test
    7-14 ฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ 16 14
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • K2: นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฎีการพัฒนากระแสหลัก แนวคิดเชิงวิพากษ์ ในการศึกษาและพัฒนาชุมชนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • S2: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    • E1: นักศึกษามีการอ้างอิงผลงานตามหลักวิชาการ
    • C1: นักศึกษาเข้าใจในธรรมชาติของชุมชนสังคมไทย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพนักพัฒนา
    • C2: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.นักศึกษาเข้าฝึกในสถานประกอบการ
    2.อาจารย์นิเทศการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการของนักศึกษา
    3.นักศึกษาขอรับคำแนะนำจากพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ และขอรับคำแนะนำจากอาจารย์ผ่าน application ต่าง ๆ
    4.สรุปเนื้อหาในแต่ละหน่วย

    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.คู่มือการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ, 2.Line group/Facebook/Email, 3.แบบประเมินการฝึกปฏิบัติงาน
    15 นำเสนอผลการศึกษาจากการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ 2 1
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • K2: นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฎีการพัฒนากระแสหลัก แนวคิดเชิงวิพากษ์ ในการศึกษาและพัฒนาชุมชนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • S2: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    • E1: นักศึกษามีการอ้างอิงผลงานตามหลักวิชาการ
    • C1: นักศึกษาเข้าใจในธรรมชาติของชุมชนสังคมไทย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพนักพัฒนา
    • C2: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.นักศึกษานำเสนองานผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    2.นักศึกษาและอาจารย์อภิปรายร่วมกันผ่าน Google Meet หรือในชั้นเรียน
    3.สรุปเนื้อหาในการนำเสนอผลงาน

    สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    1.PowerPoint, 2.Multimedia (YouTube) 3. Report (กลุ่ม), 4. แบบประเมินรายงาน
    รวมจำนวนชั่วโมง 30 15
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    ใบงานที่ 1-2 และสอบย่อย
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • K2: นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฎีการพัฒนากระแสหลัก แนวคิดเชิงวิพากษ์ ในการศึกษาและพัฒนาชุมชนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • S2: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    • E1: นักศึกษามีการอ้างอิงผลงานตามหลักวิชาการ
    • C1: นักศึกษาเข้าใจในธรรมชาติของชุมชนสังคมไทย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพนักพัฒนา
    • C2: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    50 สัปดาห์ที่ 1-6
    การฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • K2: นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฎีการพัฒนากระแสหลัก แนวคิดเชิงวิพากษ์ ในการศึกษาและพัฒนาชุมชนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • S2: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    • E1: นักศึกษามีการอ้างอิงผลงานตามหลักวิชาการ
    • C1: นักศึกษาเข้าใจในธรรมชาติของชุมชนสังคมไทย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพนักพัฒนา
    • C2: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    20 สัปดาห์ที่ 7-14
    รายงานกลุ่ม
    • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายถึงปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนาชุมชนได้
    • K2: นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฎีการพัฒนากระแสหลัก แนวคิดเชิงวิพากษ์ ในการศึกษาและพัฒนาชุมชนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการประยุกต์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและภาคประชาสังคม
    • S2: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการพัฒนาความอยู่ดีมีสุข และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
    • E1: นักศึกษามีการอ้างอิงผลงานตามหลักวิชาการ
    • C1: นักศึกษาเข้าใจในธรรมชาติของชุมชนสังคมไทย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพนักพัฒนา
    • C2: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
    30 สัปดาห์ที่ 15
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา บัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2551). แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา. ขอนแก่น : โรงพิมพ์ขอนแก่นการพิมพ์. อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา อภิศักดิ์ ธีระวิสิษฐ์. (2553). หลักการพัฒนาชุมชน. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายนอกคณะ
    เอกสารประกอบการสอน ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2557). การเป็นสมัยใหม่กับแนวคิดชุมชน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สร้างสรรค์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2544). ชุมชนนิยม: ฝ่าวิกฤตชุมชนล่มสลาย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เอเชียเพลส. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2542). วาทกรรมการพัฒนา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิภาษา. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์. (2561). การพัฒนาชุมชนเมือง. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ภายในคณะ
    เอกสารประกอบการสอน เบ็ญจมาศ สิริภัทร. (2544). ประชาคมรากหญ้า. กรุงเทพฯ : สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน ปรีชา คุวินทร์พันธุ์. (2545). สังคมวิทยาและมานุษยวิทยานคร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน ประเวศ วะสี. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงและประชาคม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน ณรัชช์อร (ณัฐนรี) ศรีทอง. (2554). การบริหารงานพัฒนาชุมชนเชิงยุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน สมนึก ปัญญาสิงห์. (2556). การพัฒนาชุมชนและสังคมอย่างยั่งยืน. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
    เอกสารประกอบการสอน สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2551). สังคมไทย : ลักษณะ การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนา. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
    เอกสารประกอบการสอน สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2541). การพัฒนาชุมชนแบบการจัดการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เอมีเทรดดิ้ง. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน อนุชาติ พวงสำลี และกฤตยา อาชวนิจกุล. (2542). ขบวนการประชาสังคมไทย : ความเคลื่อนไหวภาคพลเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อัมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์พลับลิชชิ่ง จำกัด . อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    e-Learning KKU e-Learning อาจารย์ภายในคณะ
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ เว็บไซต์วารสารออนไลน์ในฐาน TCI และ Scopus อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ