รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกพัฒนาสังคม
Major in Social Development
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 | แนะนำรายวิชา ข้อตกลงเบื้องต้น | 3 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา e-Learning |
|
2-3 |
- ความหมายและความสำคัญของกระบวนการเรียนรู้ - แนวคิด/ปรัชญาของการศึกษาและการเรียนรู้ - ยุทธศาสตร์ในการเสริมสร้างการเรียนรู้ - เทคนิค วิธีการและกระบวนการในการเสริมสร้างการเรียนรู้ |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
|
4-5 |
- การจัดการความรู้คืออะไร - สิ่งที่แตกต่างระหว่างความรู้ชัดแจ้งและความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในตัวคน - การจัดการความรู้ไม่รู้จบ - บุคคลสำคัญของการจัดการความรู้ |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน หนังสือ หรือ ตำรา ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน |
|
5-6 |
- การดำเนินการจัดการความรู้ - เครื่องมือในการจัดการความรู้ - ฐานข้อมูลความรู้ - องค์กรแห่งการเรียนรู้ - ชุมชนแนวปฏิบัติ |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน บทวิจัย หรือบทความวิชาการ อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|
6-7 | เรียนรู้ร่วมกับองค์กร/สถานประกอบการ | 6 |
|
(1) นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ลงปฏิบัติการภาคสนาม ศึกษาเรียนรู้ร่วมกับองค์กรที่ปฏิบัติงาน (2) อาจารย์ติดตามนิเทศพบกับเจ้าหน้าที่องค์กรและนักศึกษาเพื่อติดตามการปฏิบัติงานและการเรียนรู้ของนักศึกษา ให้คำแนะนำปรึกษาเพื่อให้การเรียนรู้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน |
|
8-9 | สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนา/การจัดการความรู้ขององค์กรและชุมชน | 6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|
10-11 | นำเสนอรายงานกลุ่มการประยุกต์ใช้โมเดลการจัดการความรู้กับหน่วยงานที่ไปฝึกปฎิบัติงาน | 6 |
|
ในห้องเรียน ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน |
|
12-13 | สรุปประมวลองค์ความรู้และการจัดการความรู้ร่วมกัน | 6 |
|
ในห้องเรียน ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การสอบ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
30 | |
การนำเสนอรายงานการเรียนรู้จากองค์กร |
|
20 | |
ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะในการปฏิบัติงาน |
|
20 | |
สอบปลายภาค |
|
30 | สอบปลายภาคมีจำนวนข้อสอบ 3 ข้อ คะแนนข้อละ 10 คะแนน คะแนนเก็บทั้งหมดจะถูหารด้วย 2 เพื่อเป็นคะแนนเก็บจำนวนรวม 50 คะแนน และ จะใช้คะแนนจากการนำเสนอรายงานวิจัยกลุ่มจากการศึกษาดูงานและฝึกงานจากหน่วยงานอีก 50 คะแนน รวมเป็น 100 คะแนน |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | วิจิตร อาวะกุล. 2540. การฝึกอบรม The Management of Training . กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุพัตรา ชาติบัญชาชัย. มปป. กระบวนการเรียนรู้ : แนวคิด ความหมาย และบทเรียนในสังคมไทย. โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้ เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กรุงเทพฯ. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | เนาวรัตน์ พลายน้อย และ ธีรเดช ฉายอรุณ.. 2551. การพัฒนาการเรียนรู้ผ่านกระบวนการประเมินแบบเสริมพลัง(Empowerment Evaluation). สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) .กรุงเทพฯ | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ศุภวัลย์ พลายน้อย.2553.นานาวิธีการถอดบทเรียนและการสังเคราะห์ความรู้. ฝ่ายติดตามประเมินผลภายในและสังเคราะห์องค์ความรู้โครงการวิจัยและพัฒนาชีวิตสาธารณะท้องถิ่นน่าอยู่ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา (LDI). กรุงเทพฯ : พี.เอ.ลีพวิ่ง จำกัด. 2547 | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | กนกภรณ์ ชูเชิด และสกรรจ์ พรหมศิริ. การถอดบทเรียน “วิธีวิทยาเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้สำหรับนักปฏิบัติการภาคประชาสังคม”. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา (LDI). กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีพวิ่ง จำกัด. 2548 | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ปาริชาติ วลัยเสถียร. กระบวนการเรียนรู้และการจัดการความรู้ของชุมชน (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์). สำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2549 | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | มานะ นาคำ และคณะ. กระบวนการเรียนรู้และการจัดการความรู้ของชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ. สำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพสุขภาพ (สสส.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). 2549 | อาจารย์ภายในคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ “กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2543 | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
มานะ นาคำ และคณะ. รายงานวิจัยถอดบทเรียนศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ. คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2554 |
อาจารย์ภายในคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
นิพจน์ เทียนวิหาร , นิธิ เอียวศรีวงศ์และไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม. 2547.ความรู้ท้องถิ่น การจัดการความรู้สู่การจัดการทางสังคม. มปท. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ประพันธ์ ผาสุกยืด. 2547.การจัดการความรู้ฉบับมือใหม่หัดขับ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ใยไหม | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
ประพันธ์ ผาสุกยืด. 2549.การจัดการความรู้ฉบับขับเคลื่อน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ใยไหม |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
ประเวศ วะสี. 2550. การจัดการความรู้ กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์สู่ศักยภาพ เสรีภาพและความสุข. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์กรีน-ปัญญาญาณ. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
พระมหาสุทิย์ อาภาโร (อบอุ่น). 2547. เครือข่าย :ธรรมชาติ ความรู้ และการจัดการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา. วิจารณ์ พานิช .พิมพ์ครั้งที่4. 2551.การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ.กรุงเทพฯ.สุขภาพใจ |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
พระมหาสุทิย์ อาภาโร (อบอุ่น).2550.ผู้บริหารองค์กรอัจฉริยะ ฉบับนักปฏิบัติ.สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม กรุงเทพฯ |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | เอกวิทย์ ณ ถลาง และคณะ. 2546. ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อมรินทร์. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล | Peter F. Drucker (แปลโดย ณัฐยา สินตระการผล). 2554. การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ : ส.เอเชียเพรส. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล |
Etienne Wenger และคณะเขียน (แปลโดย พูลลาภ อุทัยเลิศอรุณ) 2547. ชุมชนแนวปฏิบัติ การจัดการความรู้สายพันธุ์ ใหม่.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วีเลิร์น. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ