Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS411101
ภาษาไทย
Thai name
รัฐประศาสนศาสตร์ขั้นแนะนำ
ภาษาอังกฤษ
English name
INTRODUCTION TO PUBLIC ADMINISTRATION
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์อิมรอน โสะสัน
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุ่งอรุณ บุญสายันต์
    • อาจารย์อิมรอน โสะสัน
    • รองศาสตราจารย์พิธันดร นิตยสุทธิ์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสรรค์ ปิยนันทิศักดิ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      พัฒนาการขององค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ แนวคิดการบริหารงานสาธารณะแบบใหม่ ข้อมูล-สารสนเทศกับการบริหารงานสาธารณะ การประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัล ในการบริหารงานสาธารณะ ทักษะที่จำเป็นต่อการบริหารงานสาธารณะ
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Evolution of public administration knowledge, concept of new public governance, data-Information and governance applications of digital technology for governance, essential skills for governance
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      • Online learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Content and language integrated learning
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Case discussion
      • Seminar
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 ขอบเขต และความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์ 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
      หนังสือ หรือ ตำรา
      e-Learning
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
      จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet หรือในห้องเรียน
      2-3 กรอบความคิดต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ 6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
      บรรยาย เรื่อง กรอบความคิดต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
      หนังสือ หรือ ตำรา
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      e-Learning
      จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet หรือในห้องเรียน
      4-8 วิวัฒนาการขององค์ความรู้รัฐประศาสนศาสตร์ 15
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
      บรรยาย เรื่อง
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
      หนังสือ หรือ ตำรา
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      e-Learning
      จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet หรือในห้องเรียน
      9-13 เครื่องมือทางการบริหารภาครัฐ 15
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
      บรรยาย เรื่อง
      ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
      ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
      หนังสือ หรือ ตำรา
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
      e-Learning
      จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet หรือในห้องเรียน
      14-15 การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ 6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
      บรรยาย เรื่อง
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      หนังสือ หรือ ตำรา
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      e-Learning
      ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
      จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet หรือในห้องเรียน
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
      25
      งานเดี่ยว
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
      25
      สอบกลางภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
      25
      สอบปลายภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม
      25
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      เอกสารประกอบการสอน รายวิชารัฐประศาสนศาสต์ขั้นแนะนำ อาจารย์ภายในคณะ
      หนังสือ หรือ ตำรา Bowornwathana, B. 1997. Transforming bureaucracies for the 21st century:
      The new democratic governance paradigm. Public Administration Quarterly. Fall, 21(3), 294-308.
      Denhardt, R. B. & Denhardt, J. V. 2008. Public administration: An action orientation. (5th ed.).
      Belmont, CA:Thomson/Wadsworth.
      Denhardt, R. B. & Denhardt J. V. 2007. The new public service: Serving, not steering.
      (Expanded ed.) Armonk, NY: M.E. Sharpe.
      Henry, N. 2008. Public administration and public affairs. (10thed.). Upper Saddle River, NJ:
      Prentice Hall.
      King, C. S. & Stivers, C. 1998. Government is us: Public administration in an anti-government
      era. Thousand Oaks, CA: Sage Publications.
      Osborne, D. & Gaebler, T. 1992. Reinventing government: Creating a government that works
      better and costs less. Reading, MA: Addison-Wesley.
      Peters, B. G. (2001). The Future of governing. (2nd Edition, Rev.). Lawrence, Kansas:
      The University Press of Kansas.
      Peters, B. G. (2000). Governance and comparative politics. In Jon Pierre (Ed.). Debating
      governance: Authority, steering, and democracy (pp. 36-53). New York: Oxford
      University Press.
      Peters, B. G. & Pierre, J. (Eds.) 2007. Handbook of public administration. London: Sage
      Publications.
      Pierre, J. (Ed.) (2000). Debating governance: Authority, steering, and democracy. New York:
      Oxford University Press.
      Rhodes, R.A.W. 2000. Governance and public administration. In Jon Pierre (Ed.). Debating
      governance: Authority, steering, and democracy (pp. 54-90). New York: Oxford
      University Press.
      Rhodes, R.A.W. 1996. The new governance: Governing without government. Political Studies.
      XLIV, 652-667.
      Shafritz, J. M. & Hyde, A. C. 2008. Classics of public administration. (6th ed.). Belmont, CA:
      Wadsworth.
      Shafritz, J. M., Ott, J. S., & Jang, Y. S. 2005. Classics of organization theory. (6th ed.).
      Belmont, CA: Wadsworth.


      คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ดุลยภาพแห่งรัฐ : กระบวนทัศน์แห่งการศึกษารัฐประศาสน
      ศาสตร์ : รวมการบรรยายพิเศษจากนักวิชาการในยุคสมัยของการจัดความสัมพันธ์ใหม่ระหว่าง
      รัฐ สังคมและพลเมือง. วีระศักดิ์ เครือเทพ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ. 2548.

      พิทยา บวรวัฒนา. 2541. ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์และแนวการศึกษา. ค.ศ.1970-1980. กรุงเทพฯ:
      สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
      พิทยา บวรวัฒนา. 2541. ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์และแนวการศึกษา (ค.ศ.1887-1970). พิมพ์ครั้งที่
      5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
      สร้อยตระกูล อรรถมานะ. 2550. สาธารณบริหารศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3, แก้ไขเพิ่มเติม) กรุงเทพฯ:
      โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
      สุขุมวิทย์ ไสยโสภณ. หลักรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: ขอนแก่นการพิมพ์. 2551.
      อุทัย เลาหวิเชียร. 2543. รัฐประศาสนศาสตร์ ลักษณะวิชาและมิติต่าง ๆ (พิมพ์ครั้งที่ 6) กรุงเทพฯ:
      เสมาธรรม
      อุทัย เลาหวิเชียร. 2519. รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ ภูมิหลัง แนวความคิด และ
      ความสัมพันธ์กับสาขาอื่นๆ ของรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ สถาบัน
      บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

      1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
      1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
      1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

      2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
      2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

      3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
      3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

      4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
      4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
      4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

      5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
      5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
      5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
      5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ