รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-3 |
แนะนำรายวิชา ข้อตกลงเบื้องต้น 1. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม 1.1 ความหมายและความสำคัญของวัฒนธรรม 1.2 ความแตกต่างทางวัฒนธรรม |
9 |
|
(1) ชี้แจง แนะนำการเรียน การส่งงาน และอธิบายประมวลรายวิชาจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกัน (2) ให้นักศึกษาอภิปรายร่วมกันถึงความหมายและความสำคัญของวัฒนธรรม (3) อธิบายเรื่องของความแตกต่างทางวัฒนธรรม ในห้องเรียน |
|
4-6 |
2. ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 2.1 ความหมาย 2.2 ความสำคัญ 2.3 บทบาท |
9 |
|
(1) บรรยายหัวข้อ “ความหมาย ความสำคัญ และบทบาท” ในการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (2) นักศึกษาสืบค้นบทความเกี่ยวกับการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความสนใจของนักศึกษาแล้วสรุปสาระสำคัญ (3) อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน |
|
7-9 |
3. ลักษณะของการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 3.1 ทางสังคม 3.2 ทางวัฒนธรรม |
9 |
|
(1) บรรยายหัวข้อ “ลักษณะของการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม” โดยเน้นประเด็นทางสังคม และวัฒนธรรม (2) ให้นักศึกษาดูคลิปช่องยูทูป Kyutae Oppa (3) มอบหมายงานให้นักศึกษาสื่อสารกับนักศึกษาต่างชาติ แล้วรบรวมเนื้อหาที่ได้จากการสื่อสาร |
|
10-12 |
บรรยายหัวข้อ กระบวนการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความตระหนกทางวัฒนธรรมและการเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่ (1) Honeymoon stage (2) Culture shock (3) Recovery (4) Adjustment อ่านบทความเรื่อง การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมการปรับตัวเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่ของแรงงานไทยในประเทศเกาหลีและแรงงานเกาหลีในประเทศไทย |
9 |
|
(1) บรรยายหัวข้อ “กระบวนการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม” (2)บรรยายถึงปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม โดยให้นักศึกษาดูยูทูปช่อง Cullen Hateberry |
|
13-15 |
5. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 5.1ความรู้และความคิด 5.2 ทัศนคติและความรู้สึก 5.3 พฤติกรรม |
9 |
|
(1) บรรยายหัวข้อ ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (2) นักศึกษานำเสนองานกลุ่มการสื่อสารกับนักศึกษาต่างชาติ พร้อมวิเคราะห์ถึงการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมที่แตกต่างกันได้ (3) กำหนดสถานการณ์การสื่อสารที่มีความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม แล้วให้นักศึกษาทำการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
10 | |
งานเดี่ยว |
|
10 | |
งานกลุ่ม |
|
30 | |
สอบกลางภาค |
|
20 | |
สอบปลายภาค |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา แก้วเทพ. (2542). การวิเคราะห์สื่อ แนวคิดและเทคนิค. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา โชคเหรียญสุขชัย. (2550). การสื่อสารเชิงอวัจนภาษา: รูปแบบและการใช้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา โชคเหรียญสุขชัย. (2539). สื่อส่องวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | บอกซ์, คิวริออซิตี. (2553). วัฒนธรรมนานาชาติ (ชุด ท่องโลกความรู้ 101 วัน). (กัญญารัตน์ จิราสวัสดิ์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | เมตตา วิวัฒนานุกูล (กฤตวิทย์). (2559). การสื่อสารต่างวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ศุภรัศมิ์ ฐิติกุลเจริญ. (2550). ทฤษฎีการสื่อสาร. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Wirangrong Boonnuch. (2011). Cross-cultural Communication: An Introduction. 2nd ed. Bangkok: Thammasat University Press. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
YouTube | https://www.youtube.com/@cullen_hateberry | ||
YouTube | https://www.youtube.com/channel/UCGXO4eSJEmdjYL5cCC4-CYA | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
วาลี ปรีชาปัญญากุล, สุเขตศักดิ์ หวานวาจา และ Shin, Keunhye. (2563).การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม การปรับตัวเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่ของแรงงานไทยในประเทศเกาหลีและแรงงานเกาหลีในประเทศ ไทย.คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
อาจารย์ภายในคณะ |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 | 5.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ