Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS421004
ภาษาไทย
Thai name
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ภาษาอังกฤษ
English name
Social and Cultural Change
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2567)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
จริยธรรม
Ethics
  • ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ทักษะ
Skills
  • ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อทำรายงานในประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมทั้งในบริบทไทยและสากล
ลักษณะบุคคล
Character
  • มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม แบบแผนและสาเหตุของการเปลี่ยนแปลง โลกาภิวัตน์กับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ปฏิกิริยาที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง ความยาวนาน กลยุทธ์ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง และต้นทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
ภาษาอังกฤษ
English
Meanings of social and cultural change; theories used to study social and cultural change; patterns and causes of change; globalization and social and cultural change; reactions to change; duration, strategies and consequences of change, and costs of change
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Classroom-based learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Research-based learning
  • Task-based learning
  • Case discussion
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 - แนะนำและชี้แจงเกี่ยวกับรายวิชา วิธีการเรียน กิจกรรม และการประเมินผล
- มอลหมายให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมในแต่ละสัปดาห์และทำรายงาน
3
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) แจกแผนการสอน (upload ในระบบล่วงหน้า)/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และการเรียนการสอนรวมทั้งการส่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือใน platform อื่น
(2) แนะนำเนื้อหาของรายวิชาในภาพรวม กิจกรรมต่าง ๆ และการประเมินผลการเรียนรู้
(3) มอบหมายให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมในแต่ละสัปดาห์และรายงานกลุ่ม พร้อมทั้งส่งรายชื่อของสมาชิกกลุ่ม
(4) ผู้สอนเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
(5) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
(6) ช่องทางการสอน : On-site/Online
2 ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 3
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้สอนบรรยายเนื้อหา
(2) ผู้สอนมอบหมายในผู้เรียนทำกิจกรรมกลุ่ม
(3) ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น
(4) ผู้สอนและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
(5) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint, YouTube
(6) ช่องทางการสอน : On-site/Online

3-4 ทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 6
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้สอนบรรยายเนื้อหา
(2) ผู้สอนมอบหมายในผู้เรียนทำกิจกรรมกลุ่ม
(3) ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น
(4) ผู้สอนและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
(5) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint, YouTube
(6) ช่องทางการสอน : On-site/Online

5-6 แบบแผนและสาเหตุของการเปลี่ยนแปลง 6
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้สอนบรรยายเนื้อหา
(2) ผู้สอนมอบหมายในผู้เรียนทำกิจกรรมกลุ่ม
(3) ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น
(4) ผู้สอนและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
(5) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint, YouTube
(6) ช่องทางการสอน : On-site/Online

7 ผู้เรียนนำเสนอความก้าวหน้าของการทำรายงาน ครั้งที่ 1 3
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • S3: ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อทำรายงานในประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมทั้งในบริบทไทยและสากล
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้เรียนนำเสนอหัวข้อรายงานกลุ่ม
(2) ผู้สอนและผู้เรียนจากกลุ่มอื่นซักถามและแสดงความคิดเห็นต่อรายงานของแต่ละกลุ่ม
(3) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
(4) ช่องทางการสอน : On-site/Online
8 โลกาภิวัตน์กับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 3
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้สอนบรรยายเนื้อหา
(2) ผู้สอนมอบหมายในผู้เรียนทำกิจกรรมกลุ่ม
(3) ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น
(4) ผู้สอนและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
(5) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint, YouTube
(6) ช่องทางการสอน : On-site/Online
9 ปฏิกิริยาที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 3
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้สอนบรรยายเนื้อหา
(2) ผู้สอนมอบหมายในผู้เรียนทำกิจกรรมกลุ่ม
(3) ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น
(4) ผู้สอนและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
(5) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint, YouTube
(6) ช่องทางการสอน : On-site/Online
10 ความยาวนานของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 3
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้สอนบรรยายเนื้อหา
(2) ผู้สอนมอบหมายในผู้เรียนทำกิจกรรมกลุ่ม
(3) ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น
(4) ผู้สอนและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
(5) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint, YouTube
(6) ช่องทางการสอน : On-site/Online
11 ผู้เรียนนำเสนอความก้าวหน้าของการทำรายงาน ครั้งที่ 2 3
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • S3: ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อทำรายงานในประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมทั้งในบริบทไทยและสากล
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้เรียนนำเสนอความก้าวหน้าของการทำรายงานกลุ่ม
(2) ผู้สอนและผู้เรียนจากกลุ่มอื่นซักถามและแสดงความคิดเห็นต่อรายงานของแต่ละกลุ่ม
(3) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
(4) ช่องทางการสอน : On-site/Online
12 กลยุทธ์ของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 3
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้สอนบรรยายเนื้อหา
(2) ผู้สอนมอบหมายในผู้เรียนทำกิจกรรมกลุ่ม
(3) ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น
(4) ผู้สอนและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
(5) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint, YouTube
(6) ช่องทางการสอน : On-site/Online
13 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 3
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้สอนบรรยายเนื้อหา
(2) ผู้สอนมอบหมายในผู้เรียนทำกิจกรรมกลุ่ม
(3) ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น
(4) ผู้สอนและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
(5) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint, YouTube
(6) ช่องทางการสอน : On-site/Online
14 ต้นทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 3
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้สอนบรรยายเนื้อหา
(2) ผู้สอนมอบหมายในผู้เรียนทำกิจกรรมกลุ่ม
(3) ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น
(4) ผู้สอนและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
(5) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint, YouTube
(6) ช่องทางการสอน : On-site/Online
15 - การนำเสนอรายงานของนักศึกษา
- สรุป
3
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • S3: ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อทำรายงานในประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมทั้งในบริบทไทยและสากล
  • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ผู้เรียนมีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น และมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
(1) ผู้เรียนนำเสนอรายงาน
(2) ผู้สอนและผู้เรียนจากกลุ่มอื่นซักถามและแสดงความคิดเห็นต่อรายงานของแต่ละกลุ่ม
(3) ผู้สอนและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญจากการเรียนร่วมกัน
(4) สื่อการสอน : ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint, YouTube
(5) ช่องทางการสอน : On-site/Online
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
สอบกลางภาค
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
30
สอบปลายภาค
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
40
กิจกรรมกลุ่ม (ใบงาน) 10 สัปดาห์
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
10
รายงานกลุ่มและการนำเสนอรายงาน
  • K1: ผู้เรียนสามารถอธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์ประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในมิติสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และวิพากษ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในบริบทของไทยและสากลได้
  • S1: ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในกรณีศึกษาต่าง ๆ
  • S2: ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสืบค้นข้อมูลในการทำกิจกรรมกลุ่มและจัดทำรายงานในประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
  • S3: ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อทำรายงานในประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมทั้งในบริบทไทยและสากล
15
การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
    5
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    เอกสารประกอบการสอน จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2565). เอกสารประกอบการสอน รายวิชา HS421004 (การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม). คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
    อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา นิเทศ ตินณะกุล. (2551). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2536). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม: แนวทางการศึกษาวิเคราะห์และการวางแผน. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาธรรมวิทยา.
    อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2542). สังคมและวัฒนธรรมไทย: ลักษณะการเปลี่ยนแปลงและวิทยาการวิจัย. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
    อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา Healy, Kieran. (1998). Social Change: Mechanism and Metaphors. Princeton: Department of Sociology, Princeton University.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Inglehart, Ronald and Wayne E. Baker. (2000). Modernization, Cultural Change, and the Persistence of Traditional Values. American Sociological Review. 65(1), 19-51.
    หนังสือ หรือ ตำรา Longhurst, Brian. (2007). Cultural Change and Ordinary Life (Sociology and Social Change). New York: Open University Press.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Salawu, B. (2010). The phenomenon of socio-cultural change in the context of sociological tradition: A discourse on the founding fathers of sociology. International Journal of Sociology and Anthropology. 2(1), 001-010.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Vago, Steven. (1980). Social Change. New York: Holt, Rinehart and Winston. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Weinstein, Jay. (2010). Social Change. Revised ed. Lanham: Rowman & Littlefield. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ของเมืองทาลินน์ ประเทศสาธารณรัฐเอสโตเนีย: https://www.tci-thaijo.org/index.php/archkmitl/article/view/4198
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนย่านตลาดพลู: http://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/953
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในหมู่บ้านกำลังพัฒนา : ศึกษากรณีบ้านหนองเต่า ตำบลโคกสี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น: http://www.thaithesis.org/detail.php?id=1192534000134
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของภาคอีสาน (ในช่วง 1950-1990): https://tdri.or.th/2013/05/y93n/
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ญ้อสองฝั่งโขง: การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมหลังการปักปันเขตแดนลาวและสยาม พ.ศ. 2436: http://elibrary.trf.or.th/project_content.asp?PJID=RDG5910043 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทยและสังคมโลก: http://www.edupol.org/eduOrganize/eLearning/generalStaff/doc/group02/03/01.pdf
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม-เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม : ศึกษากรณี ชาวเลสังกาอู้ อ.เกาะลันตา จ.กระบี่: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ “วัฒนธรรมต่างชาติ” พลวัตที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรมของชุมชนอำเภอเกาะสมุย และเกาะ พงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี: http://research.culture.go.th/index.php/research/item/900-st118.html
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมกับปัญหาสังคม: https://www.stou.ac.th/Offices/Oes/upload/a-w%2010131-1-3-pdf/a-w%2010131%20-%203n%20(2-60).pdf
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีต่อวิถีชีวิตชนเผ่าละว้าหมู่ที่ 11 ตำบลป่าแป๋ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน: http://www.ojs.mcu.ac.th/index.php/jbscm/article/view/2323
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนตําบลแหลมตะลุมพุก อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2505 – 2547: http://kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/1613/1/101290.pdf
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Societies and Cultures: Change and Persistence: http://www.svs.is/static/files/images/pdf_files/ahdr/English_version/AHDR_chp_3.pdf
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Difference between Social and Cultural Change (by Puja Monda): http://www.yourarticlelibrary.com/sociology/difference-between-social-and-cultural-change/35128
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ What is Social Change: http://animatingdemocracy.org/place-start/what-social-change
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Centre for Research on Socio-Cultural Change (CRESC): http://www.esrc.ac.uk/research/major-investments/cresc.aspx
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Social and Cultural Changes in Cross-National Perspective: Values and Modernization: http://lcsr.hse.ru/en/announcements/96011241.html
    หนังสือ หรือ ตำรา นฤมล นิราทร. (2559). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและปัญหาสังคม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ