รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
ชี้แจงรายละเอียดวิชาวิธีการเรียน ความหมาย วิวัฒนาการและความสำคัญของหมอลำ - ความหมายของหมอลำ - พัฒนาการของหมอลำ - ความสำคัญของหมอลำ |
6 |
|
1. แนะนำรายวิชา 2. บรรยายเรื่อง ความหมาย พัฒนาการ และความสำคัญของหมอลำ 3. เอกสารประกอบการสอน (PDF) |
|
3-5 |
ประเภทของหมอลำ ทำนองของกลอนลำ - หมอลำที่แสดงเพื่อความบันเทิง - หมอลำที่แสดงในพิธีกรรม - ทำนองลำทางสั้น - ทำนองลำทางยาว - ทำนองลำเต้ย - ทำนองลำเพลิน |
9 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน 2. บรรยายและอภิปราย 3. คลิปวิดีโอจาก YouTube 4. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 5. ฝึกฟังทำนองลำจาก YouTube 6. ทดสอบฟังทำนองลำต่าง ๆ 7. ทดสอบ ครั้งที่ 1 |
|
6-8 |
ลักษณะคำประพันธ์และศิลปะการประพันธ์กลอนลำ ศิลปะในคำและความ - กลอน - ฮ่าย หรือ ร่ายอีสาน |
9 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning 2. บรรยายและอภิปรายพร้อมซักถาม 3. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 4. กิจกรรมฝึกแต่งกลอน และฮ่าย 5. ทดสอบ ครั้งที่ 2 |
|
9-11 |
สถานภาพและแนวทางการศึกษาหมอลำ หมอลำกับสังคม วรรณกรรม ดนตรี ศิลปะ นาฏกรรมและ คติชนวิทยา - แนววิวัฒนาการนิยม - แนวสัญลักษณ์นิยม - แนวสุนทรียภาพนิยม - แนวบทบาทหน้าที่นิยม |
9 |
|
1. ทดสอบ ครั้งที่ 3 2. บรรยาย อภิปราย และซักถาม 3. คลิปวิดีโอจาก YouTube 4. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 5. สรุปการเรียนรู้และประเมินผลระหว่างเรียน |
|
12-13 |
หมอลำ : พลวัตและการปรับเปลี่ยนเพื่อความอยู่รอด - หมอลำในประเทศไทยเอกลักษณ์ของชาวอีสาน - ศิลปินพื้นบ้านสู่ศิลปินแห่งชาติ |
6 |
|
1. กิจกรรมทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning 2. บรรยาย อภิปราย และซักถาม 3. คลิปวิดีโอจาก YouTube 4. เอกสารประกอบการสอน (PDF) 5. ทดสอบ ครั้งที่ 4 |
|
14-15 | การนำเสนอรายงานการค้นคว้าพัฒนาการวรรณกรรม | 6 |
|
1. นักศึกษานำเสนอผลการค้นคว้า 2. อภิปรายและซักถาม 3. สรุปผลการเรียนรู้และประเมินผลหลังเรียน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
กิจกรรมและทดสอบย่อย |
|
35 | สัปดาห์ที่ 3, 5, 8, 11, 13 |
สอบกลางภาค |
|
20 | ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย |
สอบปลายภาค |
|
20 | ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย |
การนำสนอผลการค้นคว้า |
|
15 | สัปดาห์ที่ 14 และ 15 |
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
10 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | กิ่งแก้ว อัตถากร. คติชนวิทยา. เอกสารนิเทศการศึกษา ฉบับที่ 184. หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู. 2519. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | จารุบุตร เรืองสุวรรณ. ของดีอีสาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, 2520. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
จารุวรรณ จันทร์เกษ. แนวคิดด้านค่านิยมในวรรณกรรมร้อยกรองของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | จารุวรรณ ธรรมวัตร. คติชาวบ้านอีสาน. กรุงเทพฯ : อักษรวัฒนา, ม.ป.ป. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ผญาบทกวีของชาวบ้าน. กาฬสินธุ์ : จินตภัณฑ์การ พิมพ์, 2526. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
รายงานการวิจัยเรื่องบทบาทหมอลำต่อสังคมอีสานในช่วง กึ่งศตวรรษ. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, ม.ป.ป. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
จารุวรรณ ธรรมวัตร และคณะ. นิทานกำพร้า : ภาพสะท้อนชีวิตผู้ด้อย โอกาสและชาติพันธุ์สัมพันธ์ ในอุษาคเนย์ตอนกลาง. กรุงเทพฯ : โครงการเมธีวิจัยอาวุโส สำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2542. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
เจริญชัย ชนไพโรจน์. ดนตรีและเพลงพื้นบ้านอีสาน. มหาสารคาม : ภาควิชาดุริยางคศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม , 2526. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ธวัช ปุณโณทก. นิทานพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2549. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ปรีชา พิณทอง. สารานุกรมภาษาอีสาน- ไทย- อังกฤษ. อุบลราชธานี : ศิริธรรมการพิมพ์, 2532. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | วีณา วีสเพ็ญ. กันตรึม. กรุงเทพฯ : วัชรินทร์การพิมพ์, 2526. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุกัญญา สุจฉายา. เพลงพื้นบ้านศึกษา. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2543. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุจิตต์ วงษ์เทศ. เบิ่งสังคมและวัฒนธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ : มติชน, 2543. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
เกสร สว่างวงศ์. การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมเรื่องนางผมหอม ฉบับ ลานนา อีสาน และไทยลื้อ. วิทยานิพนธ์ปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2531. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
คนึงชัย วิริยะสุนทร. การวิเคราะห์เรื่องขูลูนางอั้วสำนวนท้องถิ่นอีสาน. วิทยานิพนธ์ปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2532. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
นันท์รวี ขันผง. ลำซิ่ง : ลำกลอนแนวใหม่ของอีสาน. ปริญญานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, 2519. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
รำเพย ไชยสินธุ์. กระบวนจินตภาพในวรรณกรรมร้อยกรองอีสาน. ปริญญา นิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, อัดสำเนา |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วุฒิศักดิ์ กะตะศิลา. บทบาทของหมอลำราตรี ศรีวิไล ผู้บุกเบิกลำซิ่ง. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, 2541. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 | 5.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ