Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS612401
ภาษาไทย
Thai name
ลักษณะภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
English name
CHARACTERISTICS OF THAI LANGUAGE
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิศเรศ ดลเพ็ญ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิศเรศ ดลเพ็ญ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์
    • มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • เข้าใจหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่สามารถนำมาใช้วิเคราะห์ภาษาไทย
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
    • มีจรรยาบรรณของนักวิชาการ ไม่ลอกเลียนแบบหรือขโมยผลงานวิชาการของผู้อื่น
    • มีวิธีการอ้างอิงผลงานทางวิชาการที่ถูกต้อง
    ทักษะ
    Skills
    • อธิบายโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์ไทย
    • วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • วิเคราะห์และอภิปรายวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • อภิปรายหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่เหมาะสมกับภาษาไทย
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ลักษณะเฉพาะของเสียง คำ ประโยค ความหมาย และวัฒนธรรมการใช้ภาษาในสังคมไทย
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Unique characteristics of sounds, words, sentences, and meaning; culture of language use in Thai society
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Task-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
    - ตระกูลของภาษาไทย
    - ลักษณะสำคัญของภาษาไทย
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์
    • S1: อธิบายโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์ไทย
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. VDO conference แนะนำรายวิชา
    2. บรรยายผ่าน VDO conference
    3. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    2 โครงสร้างทางเสียงในภาษาไทย
    - เสียงพยัญชนะ
    - เสียงสระ
    - เสียงวรรณยุกต์
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์
    • S1: อธิบายโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์ไทย
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning
    2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
    3. คลิปวิดีโอจาก YouTube
    4. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    3 โครงสร้างทางไวยากรณ์
    -โครงสร้างพยางค์
    - หน่วยคำและการประกอบหน่วยคำ
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์
    • S1: อธิบายโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์ไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. กิจกรรมทบทวนบทเรียน ผ่านระบบ e-learning
    2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
    3. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    4. กิจกรรมวิเคราะห์โครงสร้างพยางค์
    4 โครงสร้างทางไวยากรณ์ (ต่อ)
    - การจำแนกหน่วยคำ
    - หน่วยคำและการประกอบหน่วยคำ
    3
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. ทดสอบ ครั้งที่ 1
    2. VDO conference
    3. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
    4. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    5. กิจกรรมวิเคราะห์การจำแนกคำและการประกอบหน่วยคำ
    5 การจำแนกหมวดคำในภาษาไทยตามเกณฑ์ต่างๆ
    - เกณฑ์ความหมาย
    - เกณฑ์ตำแหน่ง
    3
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. กิจกรรมทดสอบก่อนเรียน เรื่องการจำแนกหมวดคำ
    2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
    3. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    4. แบบฝึกหัดวิเคราะห์การจำแนกหมวดคำ
    6 การจำแนกหมวดคำในภาษาไทยตามเกณฑ์ต่างๆ (ต่อ)
    - เกณฑ์หน้าที่
    3
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. กิจกรรมทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning
    2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
    3. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    4. กิจกรรมทดสอบหลังเรียน เรื่องการจำแนกหมวดคำ
    7 การสร้างคำในภาษาไทย
    - การซ้ำคำ
    - การซ้อนคำ
    - การประสมคำ
    - การผสานคำ
    3
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S3: วิเคราะห์และอภิปรายวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. ทดสอบ ครั้งที่ 2
    2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
    3. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    4. กิจกรรมวิเคราะห์และอภิปรายการสร้างคำในภาษาไทย (1)
    8 การสร้างคำในภาษาไทย (ต่อ)
    - การแผลงคำ
    - การยืมคำ
    - การบัญญัติศัพท์

    3
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S3: วิเคราะห์และอภิปรายวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. กิจกรรมทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning
    2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
    3. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    4. กิจกรรมวิเคราะห์และอภิปรายการสร้างคำในภาษาไทย (2)
    5. สรุปผลการเรียนรู้และประเมินผลระหว่างเรียน
    9 วลีในภาษาไทย
    1. ความหมายของวลี
    2. นามวลี
    3. ปริมาณวลี
    4. กริยาวลี
    3
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. ทดสอบออนไลน์ครั้งที่ 3
    2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
    3. คลิปวิดีโอจาก YouTube
    4. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    5. กิจกรรมเรื่อง วลีในภาษาไทย (1)
    10 วลีในภาษาไทย (ต่อ)
    5. บุพบทวลี
    6. วิเศษณ์วลี
    7. วลีซ้อนวลี
    3
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. กิจกรรมทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning
    2. คลิปวิดีโอบรรยายการสอน
    3. คลิปวิดีโอจาก YouTube
    4. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    5. กิจกรรมเรื่อง วลีในภาษาไทย (2)
    11 ประโยค
    - ประโยคและส่วนประกอบของประโยค
    - ชนิดของประโยค
    3
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. ทดสอบ ครั้งที่ 4
    2. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    3. กิจกรรมวิเคราะห์และอภิปรายเรื่องประโยคและชนิดของประโยค
    12 ทฤษฎีการวิเคราะห์ประโยคภาษาไทยตามทฤษฎีต่างๆ
    - ทฤษฎีไวยากรณ์ดั้งเดิม
    - ทฤษฎีไวยากรณ์โครงสร้าง
    - ทฤษฎีปริวรรติเพิ่มพูน
    3
    • K4: เข้าใจหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่สามารถนำมาใช้วิเคราะห์ภาษาไทย
    • S4: อภิปรายหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่เหมาะสมกับภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. ซักถามคำถามจากเนื้อหา
    2. คลิปวิดีโอจาก YouTube
    3. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    4. กิจกรรมอภิปรายการวิเคราะห์ประโยคภาษาไทยตามทฤษฎีต่าง ๆ (1)
    13 แนวคิดและทฤษฎีการวิเคราะห์ประโยคภาษาไทยตามทฤษฎีต่างๆ (ต่อ)
    - ทฤษฎีปริวรรติเพิ่มพูนฉบับมาตรฐาน
    - ทฤษฎีไวยากรณ์การก
    - ทฤษฎีแทกมีมิค
    3
    • K4: เข้าใจหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่สามารถนำมาใช้วิเคราะห์ภาษาไทย
    • S4: อภิปรายหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่เหมาะสมกับภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    1. ซักถามและอภิปรายจากเนื้อหา
    2. คลิปวิดีโอจาก YouTube
    3. เอกสารประกอบการสอน (PDF)
    4. กิจกรรมอภิปรายการวิเคราะห์ประโยคภาษาไทยตามทฤษฎีต่าง ๆ (2)
    14 การนำเสนอรายงานผลการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • K4: เข้าใจหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่สามารถนำมาใช้วิเคราะห์ภาษาไทย
    • S1: อธิบายโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์ไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S3: วิเคราะห์และอภิปรายวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • S4: อภิปรายหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่เหมาะสมกับภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • C3: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
    1. ทดสอบ ครั้งที่ 5
    2. นักศึกษานำเสนอผลการค้นคว้า
    15 การนำเสนอรายงานผลการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา (ต่อ) 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • K4: เข้าใจหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่สามารถนำมาใช้วิเคราะห์ภาษาไทย
    • S1: อธิบายโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์ไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S3: วิเคราะห์และอภิปรายวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • S4: อภิปรายหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่เหมาะสมกับภาษาไทย
    • C1: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C2: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • C3: มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
    1. ซักถามและอภิปราย
    2. นักศึกษานำเสนอผลการค้นคว้าผ่าน (ต่อ)
    3. สรุปผลการเรียนรู้และประเมินผลหลังเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    1. กิจกรรมและทดสอบย่อย
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • K4: เข้าใจหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่สามารถนำมาใช้วิเคราะห์ภาษาไทย
    • S1: อธิบายโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์ไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S3: วิเคราะห์และอภิปรายวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • S4: อภิปรายหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่เหมาะสมกับภาษาไทย
    35 สัปดาห์ที่ 4, 7, 9, 11, 14
    2. สอบกลางภาค
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • K4: เข้าใจหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่สามารถนำมาใช้วิเคราะห์ภาษาไทย
    • S1: อธิบายโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์ไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S3: วิเคราะห์และอภิปรายวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • S4: อภิปรายหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่เหมาะสมกับภาษาไทย
    20 ตามปฏิทินของมหาวิทนาลัย
    3. สอบปลายภาค
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • K4: เข้าใจหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่สามารถนำมาใช้วิเคราะห์ภาษาไทย
    • S1: อธิบายโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์ไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S3: วิเคราะห์และอภิปรายวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • S4: อภิปรายหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่เหมาะสมกับภาษาไทย
    20 ตามปฏิทินของมหาวิทนาลัย
    4. การนำสนอผลการค้นคว้า
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจลักษณะและชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • K4: เข้าใจหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่สามารถนำมาใช้วิเคราะห์ภาษาไทย
    • S1: อธิบายโครงสร้างทางเสียงและไวยากรณ์ไทย
    • S2: วิเคราะห์ชนิดของคำ วลี และประโยคในภาษาไทย
    • S3: วิเคราะห์และอภิปรายวิธีการสร้างคำในภาษาไทย
    • S4: อภิปรายหลักทฤษฎีการวิเคราะห์ภาษาที่เหมาะสมกับภาษาไทย
    15 สัปดาห์ที่ 14 และ 15
    5. การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
      10
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา นันทนา รณเกียรติ. สัทศาสตร์ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.
      หนังสือ หรือ ตำรา ปราณี กุลละวณิชย์. แบบลักษณ์ภาษา. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพมหานคร: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,
      2545.
      หนังสือ หรือ ตำรา พิณทิพย์ ทวยเจริญ. ภาพรวมของการศึกษาภาษาและภาษาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.
      หนังสือ หรือ ตำรา สถาบันภาษาไทย. บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 1 : ระบบเสียง อักษรไทย การอ่านคำและการเขียนสะกดคำ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2545.
      หนังสือ หรือ ตำรา บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 2 : คำ การสร้างคำและการยืมคำ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันภาษาไทย สำนักวิชาการและ
      มาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2549.
      หนังสือ หรือ ตำรา บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 3 : ชนิดของคำ วลี ประโยคและสัมพันธสาร. กรุงเทพมหานคร: สถาบันภาษาไทย สำนักวิชาการ
      และมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2552.
      หนังสือ หรือ ตำรา สุจริตลักษณ์ ดีผดุง. ทฤษฎีวากยสัมพันธ์. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล,
      2541.
      หนังสือ หรือ ตำรา อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. ทฤษฎีไวยากรณ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
      หนังสือ หรือ ตำรา อัญชลี สิงห์น้อย. คำนาม คำประสม : ศาสตร์และศิลป์ในการสร้างคำไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
      มหาวิทยาลัย, 2548.
      หนังสือ หรือ ตำรา อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์. ไวยากรณ์ไทยในภาษาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2542.
      หนังสือ หรือ ตำรา ทัศน์วลัย เนียมบุปผา. การใช้ประโยคเงื่อนไขแสดงเจตนาต่าง ๆ ในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544.
      หนังสือ หรือ ตำรา พรทิพย์ ภัทรนาวิก. ลักษณะมาลาในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
      2515.
      หนังสือ หรือ ตำรา เพ็ญแข วงษ์ศิริ. คำกริยาอกรรมในภาษาไทย: การศึกษาและการจำแนกตามแนวไวยากรณ์การก. วิทยานิพนธ์ปริญญา
      อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525.
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=-e66ByetpDY&list=PLPuq1Bt7EvmhpWgXcINFebzwPfCyBsob5
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=jJR1VPzayu0&list=PLPuq1Bt7EvmhpWgXcINFebzwPfCyBsob5&index=2
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=eeaghqkLRi8&index=3&list=PLPuq1Bt7EvmhpWgXcINFebzwPfCyBsob5
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=wA9--WJSPws
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=mOd3iDQLnKE
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=HTdvSVGp1Ew
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=bW6JruhVoRQ
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=n9168PgGHBc
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=MPWuI9whbEY
      YouTube https://www.youtube.com/watch?v=velk4-QlMyU
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

      รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
      หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

      1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
      1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
      1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
      1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
      2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
      2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
      2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
      2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
      2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
      2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
      3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
      3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
      3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
      4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
      4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
      5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
      5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
      5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
      5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ