รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2565
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
1) แนะนำรายวิชา 2) ความสำคัญของภาษาอีสาน 3) ความหมายและความแตกต่างของภาษาและภาษาย่อย 4) ความหมายของภาษาไทยถิ่นอีสาน |
3 |
|
บรรยาย เรื่องความสำคัญของภาษาอีสาน บรรยาย เรื่องความหมายและความแตกต่างของภาษาและภาษาย่อย ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในห้องเรียน |
|
2-3 |
1) ลักษณะทั่วไปของภาษาไทยถิ่นอีสาน 2) อักษรและเสียงในภาษาไทยถิ่นอีสาน 3) ระบบเสียงภาษาอีสาน 3.1) เสียงสระ 3.2) เสียงพยัญชนะ 3.3) เสียงวรรณยุกต์ |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง ลักษณะทั่วไปของภาษาไทยถิ่นอีสาน บรรยาย เรื่อง อักษรและเสียงในภาษาไทยถิ่นอีสาน ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ในห้องเรียน |
|
4-5 |
1) ระบบไวยากรณ์ภาษาไทยถิ่นอีสาน 1.1) ระบบคำ 1.2) กลุ่มคำและประโยค |
6 |
|
บรรยาย เรื่องระบบไวยากรณ์ภาษาไทยถิ่นอีสาน ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ในห้องเรียน |
|
6-7 |
1) พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของภาษา 1.1) พัฒนาการของภาษาไทยถิ่นอีสาน 1.2) การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยถิ่นอีสาน |
6 |
|
บรรยาย เรื่องพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของภาษา ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ในห้องเรียน |
|
8 |
1) สถานภาพการศึกษาภาษาไทยถิ่นอีสานในปริบทสากล 2) ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวรรณกรรมท้องถิ่น |
3 |
|
ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ในห้องเรียน |
|
9 |
1) ความหมาย ลักษณะ และประเภทของวรรณกรรมอีสาน 2) รูปแบบ บทบาท และพัฒนาการของวรรณกรรมอีสาน 3) การสร้างสรรค์ การเสพ การวิเคราะห์และการประเมินค่าวรรณกรรมอีสาน |
3 |
|
1. การสอนแบบ Problem Based Learning ด้วยการตั้งคำถาม การตอบคำถาม การบรรยาย การอภิปราย และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม 2. ฝึกให้สังเกตวรรณกรรมอีสานที่มีบทบาทในสังคมอีสาน รวมทั้งการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต แล้วนำมาอธิบายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษาด้วยกัน และมีการกำหนดกิจกรรมให้นักศึกษาทำเป็นงานเดี่ยว/งานกลุ่มทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ฝึกให้ผู้เรียนเรียนรู้วิธีการหาความรู้จากสื่อที่หลากหลาย สื่อที่ใช้ได้แก่ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. บทความวิชาการ 3. Power Point Presentation 4. สื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ แผ่นบันทึกวรรณกรรมอีสาน |
|
10-11 |
1) รูปแบบ และเนื้อหาวรรณกรรมศาสนา วรรณกรรมคำสอน และวรรณกรรมตำนานอีสาน 2) แนวคิด และกลวิธีการแต่งวรรณกรรมศาสนา วรรณกรรมคำสอน และวรรณกรรมตำนานอีสาน |
6 |
|
1. การสอนแบบ Problem Based Learning ด้วยการตั้งคำถาม การตอบคำถาม การบรรยาย การอภิปราย และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม 2. การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ประเภทต่างๆ แล้วนำมาอธิบายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษาด้วยกัน และมีการกำหนดกิจกรรมให้นักศึกษาทำเป็นงานเดี่ยว/งานกลุ่มทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ฝึกให้ผู้เรียนเรียนรู้วิธีการหาความรู้จากสื่อที่หลากหลาย สื่อที่ใช้ได้แก่ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. บทความวิชาการ 3. Power Point Presentation 4. สื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
|
12 |
1) รูปแบบ และเนื้อหาวรรณกรรมนิทานอีสานและวรรณกรรมประวัติศาสตร์อีสาน 2) แนวคิด และกลวิธีการแต่งวรรณกรรมนิทานอีสานและวรรณกรรมประวัติศาสตร์อีสาน |
3 |
|
1. การสอนแบบ Problem Based Learning ด้วยการตั้งคำถาม การตอบคำถาม การบรรยาย การอภิปราย และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม 2. การสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตแล้วนำมาอธิบายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษาด้วยกัน และมีการกำหนดกิจกรรมให้นักศึกษาทำเป็นงานเดี่ยว/งานกลุ่มทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ฝึกให้ผู้เรียนเรียนรู้วิธีการหาความรู้จากสื่อที่หลากหลาย สื่อที่ใช้ได้แก่ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. บทความวิชาการ 3. Power Point Presentation 4. สื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
|
13-14 |
1) รูปแบบ และเนื้อหาวรรณกรรมอีสานประเภทอื่น ๆ เช่น บทสูดขวัญ ผญา หมอลำ เพลงฯลฯ 2) แนวคิด และกลวิธีการแต่งวรรณกรรมอีสานประเภทอื่น ๆ เช่น บทสูดขวัญ ผญา หมอลำ เพลงฯลฯ |
6 |
|
1. การสอนแบบ Problem Based Learning ด้วยการตั้งคำถาม การตอบคำถาม การสอนแบบบรรยาย การอภิปราย การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นพื้นฐาน และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม 2. การสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตแล้วนำมาอธิบายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษาด้วยกัน และมีการกำหนดกิจกรรมให้นักศึกษาทำเป็นงานเดี่ยว/งานกลุ่มทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ฝึกให้ผู้เรียนเรียนรู้วิธีการหาความรู้จากสื่อที่หลากหลาย สื่อที่ใช้ได้แก่ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. บทความวิชาการ 3. Power Point Presentation 4. สื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
|
15 |
1) การสร้าง และการเสพวรรณกรรมอีสาน 2) การสืบทอด และการดำรงอยู่ของวรรณกรรมอีสาน 3) สรุปและนำเสนอความสัมพันะ์ระหว่างภาษาและวรรณกรรมอีสานในปริบทสากล |
3 |
|
1. การสอนแบบ Problem Based Learning ด้วยการตั้งคำถาม การตอบคำถาม การสอนแบบบรรยาย การอภิปราย การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นพื้นฐาน และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และมีการกำหนดกิจกรรมให้นักศึกษาทำเป็นงานเดี่ยว/งานกลุ่มทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ฝึกให้ผู้เรียนเรียนรู้วิธีการหาความรู้จากสื่อที่หลากหลาย 2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการโดยชี้ให้เห็นถึงสภาพการสร้าง การเสพ และการสืบทอด รวมทั้งการดำรงอยู่ของวรรณกรรมอีสาน สื่อที่ใช้ได้แก่ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. บทความวิชาการ 3. Power Point Presentation 4. สื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
10 | |
งานเดี่ยว |
|
20 | |
งานกลุ่ม |
|
20 | |
สอบกลางภาค |
|
20 | ตามประกาศของมหาวิทยาลัย |
สอบปลายภาค |
|
20 | ตามประกาศของมหาวิทยาลัย |
การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า |
|
10 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | พิณทิพย์ ทวยเจริญ. (2543). ภาพรวมของการศึกษาภาษาและภาษาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ทฤษฎีไวยากรณ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Eagleton,T.(1996). Literary Theory: An Introduction. Oxford: Blackwell Publishers. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Carter,R. (1991).Language and Literature. London:Routledge. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
แก้วตา จันทรานุสรณ์. 2553. วรรณกรรมท้องถิ่นอีสานในบริบทการพัฒนาและโลกาภิวัตน์. ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
อาจารย์ภายในคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา | จารุวรรณ ธรรมวัตร. 2537. วรรณกรรมท้องถิ่น: อีสาน-ล้านช้าง. เอกสารอัดสำเนา. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ธวัช ปุณโณทก. 2537. วรรณกรรมภาคอีสาน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ศิลปากร, กรม. 2531. ตำนานและนิทานพื้นบ้านอีสาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศิราพร ณ ถลาง. 2548. ทฤษฎีคติชนวิทยา: วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
เกวลิน ภูมิภาค. 2543. ความเชื่อทางศาสนาและลัทธิที่ปรากฏในวรรณกรรมคำสอนของชาวอีสาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | โบราณคดี, กอง. 2532. พื้นอีสาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ไพบูลย์ แพงเงิน. 2534. กลอนลำภูมิปัญญาของอีสาน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | รำเพย ไชยสินธุ์. 2537. วรรณศิลป์อีสาน. เลย : ฝ่ายเอกสารตำราวิทยาลัยครูเลย. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | อดุลย์ ตะพัง. 2543. ภาษาและอักษรอีสาน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | อภิศักดิ์ โสมอินทร์. 2534. โลกทัศน์อีสาน. กาฬสินธุ์ : โรงพิมพ์ประสานการพิมพ์. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
อริยานุวัตร, พระ. 2529. ประเพณีโบราณอีสานบางเรื่อง เล่ม 1 . พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาสารคาม : ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม วิทยาลัยครูมหาสารคาม. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | อัมพร นามเหลา. 2529. ท้าวคัทธนาม. ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา วิทยาลัยครูนครราชสีมา. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | สุกัญญา ภัทราชัย, บรรณาธิการ. 2538. วรรณคดีท้องถิ่นพินิจ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
พจนีย์ เพ็งเปลี่ยน. 2553. นิทานอุรังคธาตุ ฉบับหลวงพระบาง. กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวง วัฒนธรรม. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement