Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS857102
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาและวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง
ภาษาอังกฤษ
English name
Mekong Language and Culture
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์แก้วตา จันทรานุสรณ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์แก้วตา จันทรานุสรณ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • ตระหนักรู้ความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรมในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ความรู้พื้นฐาน ที่มาของภาษาประเทศลุ่มน้ำโขง ลักษณะและความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง กรณีศึกษาเฉพาะประเทศ
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Basic knowledge and origin of languages in the Mekong Region, characteristics and relationships between language and culture, way of life, traditions in the Mekong Region and the country case study
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Problem-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 แนะนำและตกลงการเรียนการสอน การประเมินโดยสอบถามความคิดเห็น
      จากนักศึกษา ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาประเทศลุ่มน้ำโขง
      แนะนำและตกลงการเรียนการสอน การประเมินโดยสอบถามความคิดเห็น
      จากนักศึกษา
      3
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      1. บรรยายนักศึกษาเพื่อให้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาในประเทศลุ่มน้ำโขง
      2. มอบหมายอ่านบทความวิชาการ บทความวิจัยและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
      3. บรรยายผ่านระบบออนไลน์ โปรแกรม Zoom
      2 ภาษากับอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ ความหมายของคำว่าอัตลักษณ์(indentity)ตัวตน(self)เรา เขา คนอื่น(others)ความเหมือน(same)ความต่าง(difference)
      ภาษากับอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ ความหมายของคำว่าอัตลักษณ์(indentity)ตัวตน(self)เรา เขา คนอื่น(others)ความเหมือน(same)ความต่าง(difference)
      3
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • C1: ตระหนักรู้ความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรมในประเทศลุ่มน้ำโขง
      1.บรรยายนักศึกษาเพื่อมีความรู้ด้านภาษากับอัตลักษณ์ของชาติพันธุ์
      2. มอบหมายให้ศึกษาปรากฎการณ์จริงในสนาม นำเสนอและอภิปรายแลกเปลี่ยน
      3.บรรยายผ่านระบบออนไลน์ โปรแกรม Zoom
      3 ภาษากับอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ ความสัมพันธ์ คุณค่าอัตลักษณ์ ของประเทศต่างๆในลุ่มนำโขง
      ภาษากับอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ ความสัมพันธ์ คุณค่าอัตลักษณ์ ของประเทศต่างๆในลุ่มนำโขง
      3
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      (1) อาจารย์บรรยายเกี่ยวกับภาษากับอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      5 ภาษากับชนกลุ่มน้อยในลุ่มน้ำโขง
      - การริเริ่มและดำเนินนโยบายภาษาและอักษณะของชนกลุ่มกลุ่มน้อย - บทบาทของชนกลุ่มน้อยต่อการใช้หนังสือของท้องถิ่น - เพื่อแสดให้เห็นการสืบค้น และเรียนรู้ สังคม วัฒนธรรมในท้องถิ่นตน

      3
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      1.บรรยายความสัมพันธ์ทางสังคมในประเด็นเรื่องชนชั้นจากภาษา
      2. นักศึกษาสรุปสาระบทความนิทานมุขตลกกับกระบวนการสร้าง"ตัวตนลาวหลวงพระบาง" โดย ดร.บัวริน วังศิริ ในวารสารไทยศึกษา(2,2)ส.ค. 49-ม.ค. 50 กรุงเทพฯ:สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.หน้า17-54 ดูดีวีดี ภาพยนตร์เรื่องหลวงพระบาง นักศึกษาแสดงทัศนที่มีต่อประเด็นต่างๆในบทความและภาพยนตร์

      6-7 ภาษากับวรรณกรรม
      การใช้กลการประพันธ์เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดแนวคิดทางสังคมและวัฒนธรรมแห่งยุคสมัย
      6
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      1. บรรยายความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับสังคม
      2. มอบหมายให้ศึกษาปรากฎการณ์จริงในสนาม นำเสนออภิปรายแลกเปลี่ยน ดู ดีวีดี ภาพยนตร์
      8-9 ภาษากับเพศสภาวะ
      บทบาทของเพศสภาวะในบางสังคมของประเทศลุ่มน้ำโขง

      6
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      1.บรรยายประเด็นเพศสภาวะผ่านภาษา
      2.มอบหมายงานเพื่อให้นักศึกษาค้นคว้า
      3.แลกเปลี่ยนความคิดเห็นผ่านระบบออนไลน์
      10-11 ภาษากับอารยธรรม 6
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      1.บรรยายประเด็นภาษากับอารยธรรม
      2. มอบหมายงานเพื่อให้นักศึกษาค้นคว้า
      3.แลกเปลี่ยนความคิดเห็นผ่านระบบออนไลน์
      12-13 ภาษากับการเมือง 6
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      1.บรรยายประเด็นภาษากับการเมือง
      2.มอบหมายให้ศึกษาปรากฎการณ์จริงในสนาม นำเสนออภิปรายแลกเปลี่ยน ดู ดีวีดี ภาพยนตร์
      3.แลกเปลี่ยนความคิดเห็นผ่านระบบออนไลน์

      14-15 นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า ทางภาษาและวัฒนธรรมในอาณาบริเวณลุ่มน้ำโขง 6
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • C1: ตระหนักรู้ความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรมในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • C2: มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      นักศึกษาสามารถประมวลความรู้จากการค้นคว้าในประเด็นที่ตนสนใจเพื่อนำเสนอในรูปรายงานวิชาการและบทความวิชาการ
      รวมจำนวนชั่วโมง 42 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      แบบฝึกปฎิบัติ
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • A1: ตระหนักรู้ความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรมในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • A2: มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      20 สัปดาห์ที่ 1-6
      รายงานและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • A1: ตระหนักรู้ความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรมในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • A2: มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      40 สัปดาห์ที่ 14-15
      การสอบ
      • K1: มีความรู้พื้นฐานที่มาของภาษาต่าง ๆ ในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • S1: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ของภาษาและวัฒนธรรม วิธีชีวิตประเพณีในประเทศลุ่มน้ำโขง
      • A2: มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย วางตัว ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
      40 ตามปฏิทินมข.
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา กาญจนา แก้วเทพ. (2545). สื่อบันเทิง : อำนาจแห่งความไร้สาระ. กรุงเทพฯ : ออล อเบ้าท์ พริ้นท์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2551) ภาษากับการเมือง/ความเป็นการเมือง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2538). ปากไก่และใบเรือ : ว่าด้วยการศึกษาประวัติศาสตร์-วรรณกรรมต้นรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : แพรวสำนักพิมพ์. สุเทพ สุนทรเภสัช. (2548). ชาติพันธุ์สัมพันธ์ : แนวคิดพื้นฐานทางมานุษยวิทยาในการศึกษาอัตลักษณ์ กลุ่มชาติพันธุ์ ประชาชาติและการจัดองค์กรสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ โบราณคดี. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา ณัฐพล ใจจริง. (2551). อ่านปทานุกรมของสอ เสถบุตร ในฐานะวรรณกรรมทางการเมือง ใน วารสารอ่าน (1,1) เมษายน – มิถุนายน 2551กรุงเทพฯ : ฟ้าเดียวกัน หน้า 75 – 82. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา ยุกติ มุกดาวิจิตร. ชนกลุ่มน้อย รัฐ และการใช้อักขระ : ศึกษาจากสังคมชาวไตในเวียดนามปัจจุบัน ในเวียดนามหลากมิติ กรุงเทพฯ : สำนักกองทุนสนับสนุนการวิจัย และสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 195 – 226.. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา บัวริน วังคีรี. (2549). นิทานมุขตลกกับกระบวนการสร้าง “ตัวตนลาวหลวงพระบาง” ในวารสารไทยศึกษา 2,2 (ส.ค. 9 – ม.ค. 50) กรุงเทพฯ : สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 17 – 54.. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา อุมารินทร์ ตุลารักษ์. อัตลักษณ์แม่หญิงในวรรณกรรมลาวร่วมสมัย หลังการปฏิวัติชาติประชาธิปไตย ค.ศ. 1975 ใน วารสารไทยศึกษา 2,2 (ส.ค. 49 – ม.ค. 50) กรุงเทพฯ : สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 55 อาจารย์ภายในคณะ
      YouTube - สารคดีรายการ Spirit of ASIA ตอน เชียงตุง (http://www.youtube.com/watch?v=WnRDrYwFHcU&feature=related) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      YouTube สารคดีรายการ พันแสงรุ้ง ตอน วิถีเวียดนาม (http://www.youtube.com/watch?v=tl4MQ-iU2i4) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      YouTube - สารคดีรายการ พันแสงรุ้ง ตอน สัมพันธ์ไทย-เวียดนาม (http://www.youtube.com/watch?v=N8xHJat7eSQ&feature=related) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      YouTube - สารคดีรายการ พันแสงรุ้ง ตอน เหวียตเกี่ยวโห่ยเฮือง (http://www.youtube.com/watch?v=cxpKt9ShZTc&feature=related) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      YouTube สารคดีรายการ พันแสงรุ้ง ตอน อัตลักษณ์ไทลื้อ (http://www.youtube.com/watch?v=9Y2ychhWk48&feature=related) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      YouTube - สารคดีรายการ พันแสงรุ้ง ตอน กันตรึม ดนตรีแห่งชีวิต (http://www.youtube.com/watch?v=u591SHy5LKg&feature=related) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      YouTube - สารคดีรายงาน ท่องทั่วทวีป ตอน เวียดนาม (http://www.youtube.com/watch?v=pfC31ostNAI&feature=related) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      YouTube - สารคดีรายการ พันแสงรุ้ง ตอน อัตลักษณ์และวิถีไต (http://www.youtube.com/watch?v=u-MLJS06Tbc) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      YouTube - สารคดีรายการ พันแสงรุ้ง ตอน การร่ายรำอันศักดิ์สิทธิ์ :พิธีเลงมะม็วดและแกลจะเอง ของคนไทยเชื้อสายเขมรและกูย (http://www.youtube.com/watch?v=QEFfF5vdmGg) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      YouTube สารคดีรายการ พันแสงรุ้ง ตอน เลี้ยงผีผู้ไท (http://www.youtube.com/watch?v=QoZTyWflHnI) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      YouTube - สารคดีเรื่อง กอนกวย ส่วยไม่ลืมชาติ (http://www.youtube.com/watch?v=ebncFm5XpHA&feature=related) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)