Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS857203
ภาษาไทย
Thai name
ประวัติศาสตร์นิพนธ์ในลุ่มน้ำโขง
ภาษาอังกฤษ
English name
Historiography in the Mekong Region
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์
    • อาจารย์ณัฐหทัย มานาดี
    • อาจารย์จิราธร ชาติศิริ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจในงานเขียนทางประวัติศาสตร์ของประเทศลุ่มน้ำโขงนับตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน และกรณีศึกษาเฉพาะประเทศ
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษามีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสามารถเชื่อมโยงงานวิจัยกับการประยุกต์ใช้ในการเขียนทางประวัติศาสตร์
      • นักศึกษามีทักษะการทำรายงานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นิพนธ์ในประเทศลุ่มน้ำโขงได้
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีจรรยาบรรณนักวิจัยและความเข้าใจในความแตกต่างของสังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      งานเขียนทางประวัติศาสตร์ของประเทศลุ่มน้ำโขงนับตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน และกรณีศึกษาเฉพาะประเทศ
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Historical writings in the Mekong Region from past to present, case studies in key countries.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 ปฐมนิเทศรายวิชาและแนะนำการเรียนการสอนการทำกิจกรรมการวัดผลในรายวิชา
      1.1. ปฐมนิเทศรายวิชาและแนะนำการเรียนการสอน รวมทั้งกิจกรรมและการวัดผลในรายวิชา 1.2. บทนำ : นิยามและความหมายของประวัติศาสตร์นิพนธ์ 1.3. พัฒนาการของประวัติศาสตร์นิพนธ์ตะวันตกและตะวันออก (กรณีศึกษา)
      งานเขียนทางประวัติศาสตร์ในสมัยจารีตลุ่มน้ำโขง
      กรณีศึกษาจากงานเขียนในและนอกพื้นถิ่นลุ่มน้ำโขง - กรณีพงศาวดารลาว -ไทย -พม่า -เวียดนาม -กัมพูชา -จีน

      6
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในงานเขียนทางประวัติศาสตร์ของประเทศลุ่มน้ำโขงนับตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน และกรณีศึกษาเฉพาะประเทศ
      1. บรรยายเข้าใจโครงสร้างรายวิชาและกิจกรรม รวมทั้งการวัดและประเมินผล
      2. บรรยายนิยามความหมายของประวัติศาสตร์นิพนธ์
      3.บรรยายแนะนำเกี่ยวกับงานเขียนประวัติศาสตร์นิพนธ์ตะวันออกและตะวันตกที่ควรอ่าน
      4.นักศึกษาซักถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      3-6 งานเขียนทางประวัติศาสตร์ในสมัยสร้างชาติในประเทศลุ่มน้ำโขง
      เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ /เปรียบเทียบงานเขียนทางประวัติศาสตร์และการใช้หลักฐานประวัติศาสตร์สมัยสร้างชาติในอนุภาคลุ่มน้ำโขงได้
      12
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในงานเขียนทางประวัติศาสตร์ของประเทศลุ่มน้ำโขงนับตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน และกรณีศึกษาเฉพาะประเทศ
      • S1: นักศึกษามีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสามารถเชื่อมโยงงานวิจัยกับการประยุกต์ใช้ในการเขียนทางประวัติศาสตร์
      • C1: นักศึกษามีจรรยาบรรณนักวิจัยและความเข้าใจในความแตกต่างของสังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      1.บรรยายเกี่ยวกับเอกสารยุคสร้างชาติ
      2.ยกตัวอย่างงานเชียนประวัติศาสตร์ยุคจารีต
      3.นักศึกษาสืบค้นเอกสารที่เกี่ยวข้อง
      4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
      7-9 งานเขียนประวัติศาสตร์ในสมัยปัจจุบันในประเทศลุ่มน้ำโขงกรณีศึกษาจากงานเขียนคนในและคนนอกพื้นถิ่น ลุ่มน้ำโขง

      9
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในงานเขียนทางประวัติศาสตร์ของประเทศลุ่มน้ำโขงนับตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน และกรณีศึกษาเฉพาะประเทศ
      • S1: นักศึกษามีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสามารถเชื่อมโยงงานวิจัยกับการประยุกต์ใช้ในการเขียนทางประวัติศาสตร์
      • C1: นักศึกษามีจรรยาบรรณนักวิจัยและความเข้าใจในความแตกต่างของสังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      นักศึกษาสามารถเปรียบเทียบงานเขียนทางประวัติศาสตร์และการใช้หลักฐานประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบันได้
      ยกตัวอย่างงานเขียนประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน
      แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับนักศึกษา (ซักถาม)
      10-14 นักศึกษานำเสนอผลงานประวัติศาสตร์นิพนธ์ลุ่มน้ำโขง(กรณีศึกษา)
      ประวัติศาสตร์นิพนธ์ลุ่มน้ำโขง (กรณีศึกษา)
      15
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในงานเขียนทางประวัติศาสตร์ของประเทศลุ่มน้ำโขงนับตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน และกรณีศึกษาเฉพาะประเทศ
      • S1: นักศึกษามีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสามารถเชื่อมโยงงานวิจัยกับการประยุกต์ใช้ในการเขียนทางประวัติศาสตร์
      • S2: นักศึกษามีทักษะการทำรายงานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นิพนธ์ในประเทศลุ่มน้ำโขงได้
      • C1: นักศึกษามีจรรยาบรรณนักวิจัยและความเข้าใจในความแตกต่างของสังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      1.สามารถเขียนบทความเกี่ยวกับแนวการเขียนทางประวัติศาสตร์และการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง(กรณีศึกษา)
      2.นักศึกษานำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
      3.อาจารย์ให้ข้อเสนอแนะ
      15 สรุปเนื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด 3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในงานเขียนทางประวัติศาสตร์ของประเทศลุ่มน้ำโขงนับตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน และกรณีศึกษาเฉพาะประเทศ
      • S1: นักศึกษามีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสามารถเชื่อมโยงงานวิจัยกับการประยุกต์ใช้ในการเขียนทางประวัติศาสตร์
      • S2: นักศึกษามีทักษะการทำรายงานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นิพนธ์ในประเทศลุ่มน้ำโขงได้
      • C1: นักศึกษามีจรรยาบรรณนักวิจัยและความเข้าใจในความแตกต่างของสังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      สามารถสรุปพัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      แบบฝึกปฏิบัติ/การวิเคราะห์เอกสารประวัติศาสตร์หลักฐานประวัติศาสตร์/บทความ
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในงานเขียนทางประวัติศาสตร์ของประเทศลุ่มน้ำโขงนับตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน และกรณีศึกษาเฉพาะประเทศ
      • S1: นักศึกษามีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสามารถเชื่อมโยงงานวิจัยกับการประยุกต์ใช้ในการเขียนทางประวัติศาสตร์
      • S2: นักศึกษามีทักษะการทำรายงานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นิพนธ์ในประเทศลุ่มน้ำโขงได้
      • A1: นักศึกษามีจรรยาบรรณนักวิจัยและความเข้าใจในความแตกต่างของสังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      20
      รายงาน
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในงานเขียนทางประวัติศาสตร์ของประเทศลุ่มน้ำโขงนับตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน และกรณีศึกษาเฉพาะประเทศ
      • S1: นักศึกษามีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสามารถเชื่อมโยงงานวิจัยกับการประยุกต์ใช้ในการเขียนทางประวัติศาสตร์
      • S2: นักศึกษามีทักษะการทำรายงานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นิพนธ์ในประเทศลุ่มน้ำโขงได้
      • A1: นักศึกษามีจรรยาบรรณนักวิจัยและความเข้าใจในความแตกต่างของสังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      60
      การสอบ
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในงานเขียนทางประวัติศาสตร์ของประเทศลุ่มน้ำโขงนับตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน และกรณีศึกษาเฉพาะประเทศ
      • S1: นักศึกษามีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและสามารถเชื่อมโยงงานวิจัยกับการประยุกต์ใช้ในการเขียนทางประวัติศาสตร์
      • S2: นักศึกษามีทักษะการทำรายงานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นิพนธ์ในประเทศลุ่มน้ำโขงได้
      • A1: นักศึกษามีจรรยาบรรณนักวิจัยและความเข้าใจในความแตกต่างของสังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      20
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)