Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS857204
ภาษาไทย
Thai name
ชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
ภาษาอังกฤษ
English name
Ethnic Groups in the Greater Mekong Subregion
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติ
    • ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ามกลางกระแสการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง การเคลื่อนย้ายและการธำรงชาติพันธุ์ และสถานการณ์ปัจจุบันและการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      กำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติ การปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ามกลางกระแสการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง การเคลื่อนย้ายและการธำรงชาติพันธุ์ และสถานการณ์ปัจจุบันและการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Genesis of ethnic groups; settlements and socio-cultural development; socio-cultural changes of ethnic groups in the context of nation building; adjustment of ethnic groups amidst developments in the Greater MekongSubregion; mobility and ethnicity; current situations and existence of ethnic groups in the Greater Mekong Subregion.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      • Online learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Case discussion
      • Seminar
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 แนะนำรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอน และบรรยายให้เห็นภาพรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติ
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ามกลางกระแสการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง การเคลื่อนย้ายและการธำรงชาติพันธุ์ และสถานการณ์ปัจจุบันและการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) พบนักศึกษาแจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และแนะนำการเรียนการสอน และแนวทางการประมวลผลรายวิชา
      (2) นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและซักถามเกี่ยวกับการเรียนการสอน
      (3) อาจารย์ตอบข้อซักถาม


      2-3 กำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง 6
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติ
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกลุ่มชาติพันธุ์หลักในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม


      4-5 การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง 6
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติ
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      6-7 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง 6
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติ
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม


      8-9 การปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ามกลางกระแสการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง 6
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติ
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ามกลางกระแสการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      10-12 การเคลื่อนย้ายและการธำรงชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง 9
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ามกลางกระแสการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง การเคลื่อนย้ายและการธำรงชาติพันธุ์ และสถานการณ์ปัจจุบันและการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการธำรงชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      13-14 สถานการณ์ปัจจุบันและการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

      6
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ามกลางกระแสการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง การเคลื่อนย้ายและการธำรงชาติพันธุ์ และสถานการณ์ปัจจุบันและการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันและการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      15 การนำเสนอรายงานของนักศึกษา และสรุปสาระสำคัญที่ได้จาการเรียนการสอนร่วมกัน 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติ
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ามกลางกระแสการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง การเคลื่อนย้ายและการธำรงชาติพันธุ์ และสถานการณ์ปัจจุบันและการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) นักศึกษานำเสนอรายงาน
      (2) อาจารย์และนักศึกษาคนอื่นๆ ซักถามหรือให้ข้อเสนอแนะ
      (2) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญที่ได้จาการเรียนการสอนร่วมกัน


      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การสอบ (ปลายภาค)
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติ
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ามกลางกระแสการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง การเคลื่อนย้ายและการธำรงชาติพันธุ์ และสถานการณ์ปัจจุบันและการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      • A1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      20
      Review บทความ 2 เรื่อง
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติ
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ามกลางกระแสการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง การเคลื่อนย้ายและการธำรงชาติพันธุ์ และสถานการณ์ปัจจุบันและการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      • A1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      40 เรื่องละ 20 คะแนน
      การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกำเนิดของกลุ่มชาติพันธุ์ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทการสร้างชาติ
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ามกลางกระแสการพัฒนาในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง การเคลื่อนย้ายและการธำรงชาติพันธุ์ และสถานการณ์ปัจจุบันและการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไปประยุกต์ในการศึกษาและ/หรือทำวิจัยเกี่ยวกับชาติพันธุ์ในมิติต่าง ๆ
      • A1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      40 รายงาน 30 คะแนน
      การนำเสนอ 10 คะแนน
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)