รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยา
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
- แนะนำรายวิชา วิธีการเรียน การประเมินผล เอกสารและหนังสือประกอบ การเรียน - การนำเข้าสู่การเรียน - บทที่ 1 ข้อถกเถียงหลักทางญาณวิทยาที่แตกต่างหลากหลายของทฤษฎีสังคมวิทยา 1.1 ประเภทของปรัชญา กระบวนทัศน์ และญาณวิทยาทางสังคมวิทยาที่แตกต่างกันในการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม 1.2 ปัญหาของคู่ตรงข้ามด้านญาณวิทยา และทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่ส่งผลต่อวิธีการพิจารณาปรากฏการณ์ทางสังคม 1.3 สารัตถะโดยย่อของทฤษฎีสังคมวิทยาที่สำคัญ |
3 |
|
- บรรยาย และแจกประมวลรายวิชา - แจกบทความ -นักศึกษาอ่านและอภิปราย และเขียนสรุป -เอกสารแผนการสอน - Power Point - บทความในหนังสือ Ritzer, George and Barry Smart. (2001). Chapter 1: Introduction: Theorists, Theories and Theorizing. Pp.1-10 in Handbook of Social Theory. London: Sage. |
|
2 |
บทที่ 2 ญาณวิทยาแบบปฏิฐานนิยมและความพยายามทำให้สังคมวิทยาเป็นศาสตร์ 2.1 ปรัชญาและญาณวิทยาแบบปฏิฐานนิยม 2.2 การศึกษาทางสังคมของออกุสต์ กองต์ (Auguste Comte) 2.3 พัฒนาการสามขั้นของสังคม |
3 |
|
-บรรยาย - มอบหมายให้อ่านบทความวิชาการ - Power Point -ตำรา Turner, Jonathan H. (2013). Theoretical Sociology 1830 to the Present. Los Angeles, CA: Sage. |
|
3-4 |
บทที่ 3 ชีวอินทรีย์นิยมและทฤษฎีเชิงโครงสร้างหน้าที่นิยมของเฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์ 3.1 ทฤษฎีวิวัฒนาการทางสังคม 3.2 คำอธิบายกำเนิดระบบสังคมและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมด้วยมุมมองแบบโครงสร้าง-หน้าที่นิยม 3.3 การเปรียบเทียบการทำหน้าที่ของระบบชีวอินทรีย์และระบบสังคม 3.4 อิทธิพลต่อนักทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่นิยมยุคหลัง: ทัลค็อตต์ พาร์สันส์ (Talcott Parsons) และทฤษฎีระบบ |
6 |
|
-บรรยาย - มอบหมายให้อ่านบทความวิชาการ - Power Point - ตำรา Spencer, Herbert. 1898. The Principles of Sociology, Vol. 1 Part 2. New York: D. Appleton and Company. |
|
5-6 |
บทที่ 4 อิทธิพลของปทัสถานนิยมในทฤษฎีเชิงโครงสร้าง-หน้าที่นิยมของเอมีล เดอร์ไคม์ 4.1 แนวคิดเรื่องความจริงทางสังคม (Social facts) 4.2 การแบ่งงานกันทำ (Division of labor) 4.3 การเจ็บป่วยทางสังคม (Social pathology) 4.4 หน้าที่ของศาสนาและศีลธรรมในสังคม 4.5 งานเขียน เรื่อง จิตวิญญาณโปรเตสแตนท์ (Protestant Ethics) ของแม็กซ์ เวเบอร์ (Max Weber) |
6 |
|
- บรรยาย - มอบหมายให้อ่านบทความวิชาการ - Power Point - ตำรา Turner, Jonathan H. (2013). Theoretical Sociology 1830 to the Present. Los Angeles, CA: Sage. |
|
7-8 |
บทที่ 5 วิภาษวิธีและทฤษฎีความขัดแย้ง 5.1 ทฤษฎีความขัดแย้งระหว่างชนชั้นของคาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) 5.2 ทฤษฎีความขัดแย้งของกิยอร์ก ซิมเมล (Georg Simmel) 5.3 ทฤษฎีความขัดแย้งของนักทฤษฎีแนวนีโอ-มาร์กซิสต์ (Neo-Marxist) 5.4 ทฤษฎีระบบโลก (World-system theory) 5.5 พัฒนาการของทฤษฎีความขัดแย้งไปสู่ทฤษฎีวิพากษ์ (Critical theory) |
6 |
|
- บรรยาย - มอบหมายให้อ่านบทความวิชาการ - Power Point - ตำรา Turner, Jonathan H. (2013). Theoretical Sociology 1830 to the Present. Los Angeles, CA: Sage |
|
9-10 |
บทที่ 6 พฤติกรรมนิยม กับ ทฤษฎีปฏิสังสรรค์สัญลักษณ์ และทฤษฎีแลกเปลี่ยน 6.1 แนวคิดเรื่องความสัมพันธ์ทางสังคม และ เงินตรา ของกิยอร์ก ซิมเมล 6.2 ปรัชญาพฤติกรรมนิยมเชิงสังคมของจอร์จ เฮอร์เบิร์ต มี้ด (George Herbert Mead) 6.3 การทำงานของจิต อัตตา และสังคม (Mind, Self, and Society) 6.4 การกระทำทางสังคมของแม็กซ์ เวเบอร์ (Max Weber) ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน และการเลือกอย่างมีเหตุผล 6.5 ทฤษฎีปฏิสังสรรค์สัญลักษณ์ และแนวคิดเกี่ยวกับอัตลักษณ์ บทบาท สถานะ และนาฏการ |
6 |
|
- บรรยาย - มอบหมายให้อ่านบทความวิชาการ - Power Point - ตำรา Mead, George Herbert. (1934). Mind Self and Society from the Standpoint of a Social Behaviorist (edited by Charles W. Morris). Chicago: University of Chicago. |
|
11 |
บทที่ 7 ญาณวิทยาแนวปรากฏการณ์นิยม และชาติพันธุ์วิธีวิทยา (Phenomenology and Ethnomethodology) 7.1 การวิพากษ์ญาณวิทยาแบบปฏิฐานนิยม ปรัชญาปรากฏการณ์การนิยม และทฤษฎีของเอ็ดมุนด์ ฮัสเซิร์ล (Edmund Husserl) และอัลเฟร็ด ชูทซ์ (Alfred Schutz) 7.2 ปฏิบัติการในชีวิตประจำวันและการสร้างความหมายของสหอัตวิสัย (intersubjectivity) 7.3 การศึกษาเชิงชาติพันธุ์วิธีวิทยาของฮาโรลด์ การ์ฟิงเคิล (Harold Garfinkel) |
3 |
|
- บรรยาย - มอบหมายให้อ่านบทความวิชาการ - Power Point - ตำรา Turner, Jonathan H. (2013). Theoretical Sociology 1830 to the Present. Los Angeles, CA: Sage |
|
12 |
บทที่ 8 ญาณวิทยาแบบหลังสมัยใหม่ (Postmodernism) การรื้อสร้างและสัจนิยม 8.1 การวิพากษ์การศึกษาที่เป็นศาสตร์ และแนวทางการศึกษาทางสังคมที่เน้นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม การให้ความหมายเชิงสัญญะและภาพแทน 8.2 ลักษณะของสังคมหลังสมัยใหม่ในทัศนะของฌอง โบดริยาร์ด (Jean Baudrillard) 8.3 การวิเคราะห์วาทกรรมของมิเชล ฟูโกต์ (Michel Foucault) 8.4 ทฤษฎีการรื้อสร้าง ของ ฌาคส์ แดริดา (Jacques Derrida) |
3 |
|
- บรรยาย - มอบหมายให้อ่านบทความวิชาการ - Power Point - ตำรา Turner, Jonathan H. (2013). Theoretical Sociology 1830 to the Present. Los Angeles, CA: Sage |
|
13-14 |
บทที่ 9 ทฤษฎีสังคมวิทยาหลังทศวรรษที่ 1970 9.1 ทฤษฎีโครงสร้างนิยมเชิงวัฒนธรรมของปิแอร์ บูดิเยอร์ (Pierre Bourdieu) ชนชั้น รสนิยม และการบริโภคเชิงสัญญะ 9.2 ทฤษฎี Structuration ของแอนโธนี่ กิดเด้นส์ (Anthony Giddens) การประนีประนอมคู่ตรงข้ามระหว่างโครงสร้างและความสามารถกระทำการ 9.3 ทฤษฎีวิพากษ์และอำนาจทับซ้อน (Intersectionality) |
6 |
|
- บรรยาย - มอบหมายให้อ่านบทความวิชาการ - Power Point - ตำรา Turner, Jonathan H. (2013). Theoretical Sociology 1830 to the Present. Los Angeles, CA: Sage |
|
15 |
-การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า ส่งรายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ -รับข้อสอบ Take-home |
3 |
|
-นักศึกษานำเสนอบทความทางวิชาการซึ่งได้จากการศึกษา ค้นคว้าตลอดภาคการศึกษาตามหัวข้อที่ได้เคยนำเสนอไว้ สรุปซักถามข้อสงสัย - Power Point - รายงานการนำเสนอของนักศึกษา ค้นคว้าผ่านตำราภาษาอังกฤษ |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การค้นคว้าด้วยตนเอง แบบฝึกหัด |
|
30 | |
รายงานผลการศึกษาและการนำเสนอ |
|
40 | |
การสอบปลายภาค |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement