Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยา
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS477107
ภาษาไทย
Thai name
ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมขั้นสูง 1
ภาษาอังกฤษ
English name
Advanced Social Research Methodology I
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ศาสตราจารย์ดุษฎี อายุวัฒน์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ศาสตราจารย์ดุษฎี อายุวัฒน์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    • อาจารย์ภาณุ สุพพัตกุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงาน
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Social research paradigm, conceptualization development, the process of Social Sciences research, research design, construction of research tools for quantitative and qualitative data collections, data analysis and research writing.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      • Online learning
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Project-based learning
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 บทที่ 1 กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม
      1.1 แนวคิดพื้นฐานในการวิจัยทางสังคม
      1.2 ความสำคัญของการวิจัยและจริยธรรมในการวิจัย
      1.3 ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาแจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และแนะนำการเรียนการสอน และแนวทางการประมวลผลรายวิชา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีในประเด็นกระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม ด้วย PPT และกรณีศึกษา
      (3) นักศึกษาวิพากษ์และเสนออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา


      2 บทที่ 2 การพัฒนาความคิดรวบยอด
      2.1 การกำหนดปัญหาการวิจัย
      2.2 การเขียนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
      2.3 การค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำสถานภาพองค์ความรู้ของประเด็นที่สนใจ
      3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นการพัฒนาความคิดรวบยอด ด้วย PPT และกรณีศึกษา
      (3) นักศึกษาวิพากษ์และเสนออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา


      3-4 บทที่ 3 กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      3.1 การสังเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
      3.2 กระบวนการวิจัยเชิงปริมาณ และการพัฒนากรอบแนวคิด
      3.3 กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ และการพัฒนากรอบแนวคิด
      6
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นกระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ด้วย PPT และกรณีศึกษา
      (3) นักศึกษาวิพากษ์และเสนออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา


      5-7 บทที่ 4 การออกแบบวิจัย
      4.1 การเลือกรูปแบบวิจัย (เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และการวิจัยแบบผสม)
      4.2 ตัวแปรและการวัดระดับตัวแปร
      4.3 การกำหนดขนาดตัวอย่าง
      4.4 แบบแผนการสุ่มตัวอย่าง
      4.5 การเลือกกลุ่มเป้าหมายในงานวิจัยเชิงคุณภาพ
      9
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นการออกแบบวิจัยเชิงปปริมาณและเชิงคุณภาพด้วย PPT และกรณีศึกษา
      (3) นักศึกษาวิพากษ์และเสนออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา


      8-9 บทที่ 5 การสร้างเครื่องมือวิจัย และการเก็บรวบรวมข้อมูล
      5.1 เครื่องมือวิจัยและการพัฒนาเครื่องมือการวิจัยเชิงปริมาณ
      5.2 เครื่องมือวิจัยและการพัฒนาเครื่องมือการวิจัยเชิงคุณภาพ
      5.3 เทคนิค/วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ
      5.4 เทคนิค/วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ
      6
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นการสร้างเครื่องมือวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วย PPT และกรณีศึกษา
      (3) นักศึกษาวิพากษ์และเสนออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา


      10-12 บทที่ 6 เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
      6.1 การจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณ
      6.2 การจัดหมวดหมู่ข้อมูลในงานเชิงคุณภาพ
      6.3 สถิติเบื้องต้นในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
      6.4 สถิติขั้นสูงในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
      6.5 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
      9
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ด้วย PPT และกรณีศึกษา
      (3) นักศึกษาวิพากษ์และเสนออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา


      13-14 บทที่ 7 การเขียนรายงานการวิจัย
      7.1 เทคนิค/วิธีการเขียนรายงานการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
      7.2 เทคนิค/วิธีการในการนำเสนอข้อมูล
      6
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นการเขียนรายงานวิจัยและการนำเสนอข้อมูล ด้วย PPT และกรณีศึกษา
      (3) นักศึกษาวิพากษ์และเสนออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา


      15 นำเสนอโครงร่างการวิจัย 3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา
      (2) นักศึกษานำเสนอโครงร่างการวิจัย
      (3) อาจารย์ประจำวิชาและผู้ทรงคุณวุฒิให้ข้อเสนอแนะในการทำงาน
      (4) ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา และประเมินผลการสอนรายวิชา

      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การค้นคว้าด้วยตนเอง แบบฝึกหัด การบ้าน
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      20 1-15
      การวิเคราะห์โจทย์วิจัย
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      15 1-2
      การวิเคราะห์กรอบแนวคิดการวิจัยเชิงคุณภาพ
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      15 2-3
      การวิเคราะห์กรอบแนวคิดการวิจัยเชิงปริมาณ
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      15 2-5
      การสอบปลายภาค
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน กระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม การพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เพื่อใช้รวบรวมข้อมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิค และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและการเขียนรายงานการวิจัย
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การออกแบบวิจัย การสร้างเครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณและคุณภาพ เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และสามารถเขียนรายงานการวิจัยได้
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      35 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)