Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยา
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS477105
ภาษาไทย
Thai name
สัมมนาทฤษฎีทางสังคมวิทยา
ภาษาอังกฤษ
English name
Seminar in Sociological Theory
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
    • ศาสตราจารย์ดุษฎี อายุวัฒน์
    • รองศาสตราจารย์พรอัมรินทร์ พรหมเกิด
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชรินทร์ ลาภานันท์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    • อาจารย์ชีรา ทองกระจาย
    • อาจารย์ภาณุ สุพพัตกุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
    • ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      สนทนาประเด็น แนวคิด และทฤษฎีทางสังคมวิทยา รวมทั้งประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในการพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Discussion on sociological issues, concepts and theory; and the application of sociological theory in the developing conceptual framework for research
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      • Online learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Case discussion
      • Seminar
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 แนะนำรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอน 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) พบนักศึกษาแจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และแนะนำการเรียนการสอน และแนวทางการประมวลผลรายวิชา
      (2) นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและซักถามเกี่ยวกับการเรียนการสอน
      (3) อาจารย์ตอบข้อซักถาม


      2 โลกาภิวัตน์ บริโภคนิยม และวัฒนธรรมลูกผสม 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
      (4)

      3 ลักษณะข้ามชาติ (transnationalism) กับการสมรสข้ามวัฒนธรรม 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      3 ครอบครัว แรงงาน และการย้ายถิ่น

      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      4 เสรีนิยมใหม่ (neoliberalism) และสังคมวิทยาเศรษฐกิจแนวใหม่ (New Economic Sociology) 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม


      5 ชายแดนและการเคลื่อนย้าย (mobility) ของผู้คน ทุน สินค้า และวัฒนธรรม 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      6 การเปลี่ยนผ่านของ “ชุมชน” ในกระแสการพัฒนา 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      8 แนวคิด “ทุน” ในการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม


      9 สังคมเสี่ยงภัย (Risk Society) และความทันสมัยแบบใหม่ (New Modernity) 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      10 สังคมวิทยาการเมืองกับการศึกษาวัฒนธรรมการเมืองและการเมืองภาคประชาชน 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      11 วาทกรรมและมายาคติว่าด้วยเพศสภาพและเพศวิถี 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      12 ชาติพันธุ์กับการประกอบสร้างอัตลักษณ์ในสังคมพหุวัฒนธรรม





      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      13 อำนาจ ปฏิบัติการ และขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
      14 ทฤษฎีแนววิพากษ์กับการกลายเป็นสินค้า 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
      15 การนำเสนอรายงานของนักศึกษา 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) นักศึกษานำเสนอรายงาน
      (2) อาจารย์เปิดโอกาสให้ผู้ฟังถามหรือแสดงความคิดเห็นต่อรายงานของนักศึกษา
      (3) อาจารย์ให้ความเห็น/ข้อเสนอแนะต่อรายงานของนักศึกษา
      (4) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (5) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      Review บทความ 3 เรื่อง
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • A1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      60 เรื่องละ 20 คะแนน
      การทำรายงาน (ทบทวนแนวคิด/ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง) และการนำเสนอรายงาน
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการและแนวโน้มของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยในเชิงวิพากษ์บนพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยารวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยา
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • A1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      40 ครั้งที่ 1 = 20 คะแนน
      ครั้งที่ 2 = 20 คะแนน
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)