รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2565
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
1. แนะนำรายวิชา ข้อตกลงเบื้องต้น 2. บรรยายและอภิปรายร่วมกันในประเด็นวรรณกรรมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น ดังนี้ - ความหมายและความสำคัญ - ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น |
6 |
|
1. ชี้แจงและแนะนำการเรียน การส่งงาน จุดประสงค์การเรียนรู้ และตกลงรูปแบบการประเมินผลการเรียนร่วมกัน 2. บรรยายและร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ - ความหมายและความสำคัญ - ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น |
|
3-4 |
1. ประเภทของวรรณกรรมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น 1.1 แนวคิดอัตลักษณ์ 1.2 ประเภทของวรรณกรรมกับการศึกษาอัตลักษณ์ท้องถิ่น 1.3 บทความทางวิชาการและงานวิจัยที่ใช้แนวคิดอัตลักษณ์ |
6 |
|
1. ให้นักศึกษาอ่านเอกสารและบทความที่ใช้แนวคิดอัตลักษณ์ในการศึกษาทางภาษาและวรรณกรรมไทย 2. นักศึกษาร่วมอภิปรายประเด็นในการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา แนวคิด รวมทั้งระเบียบวิธีการศึกษาจากเอกสารและบทความ 3. นักศึกษาส่งสรุปผลประเด็นการศึกษาทาง e-Learning |
|
5-6 |
1. บริบททางสังคมและร่วมสมัยที่ส่งผลต่ออัตลักษณ์ท้องถิ่น - การเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมท้องถิ่น - วัฒนธรรมประชานิยมและสื่อสมัยใหม่ที่ส่งผลต่อการนำเสนอวัฒนธรรมท้องถิ่น - บทความทางวิชาการและงานวิจัยที่แสดงให้เห็นความเป็นอัตลักษณ์ท้องถิ่นในสังคมไทย |
6 |
|
1. ให้นักศึกษาอ่านเอกสารและบทความที่ใช้แนวคิดอัตลักษณ์ในการศึกษาทางภาษาและวรรณกรรมไทย 2. นักศึกษาร่วมอภิปรายประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมท้องถิ่น 3. อ่านเอกสาร " พญานาค เจ้าแห่งแม่น้ำโขง: พิธีกรรมกับระบบความเชื่อพื้นบ้านแห่งวัฒนธรรมอีสาน." 4. อ่านเอกสาร "เรื่องเล่าพื้นบ้านไทยในโลกที่ เปลี่ยนแปลง" 5. นักศึกษาร่วมอภิปรายประเด็นวัฒนธรรมประชานิยมและสื่อสมัยใหม่ที่ส่งผลต่อการนำเสนอวัฒนธรรมท้องถิ่น |
|
7-8 |
1. นิทาน ประเพณี และพิธีกรรมกับการศึกษาอัตลักษณ์ร่วมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น - ความหมาย ขอบเขต และบทบาทของนิทาน ประเพณี และพิธีกรรม - แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษานิทาน ประเพณี และพิธีกรรม รวมทั้งอัตลักษณ์ท้องถิ่น |
6 |
|
1. นักศึกษาอ่านเอกสาร “ความหมายและการแบ่งประเภทนิทานพื้นบ้าน” 2. ให้นักศึกษาอ่านเอกสาร “แบบเรื่อง สำนวน อนุภาค และกฏเกี่ยวกับนิทานพื้นบ้าน" 3. บรรยายประเด็นการศึกษาข้อมูลนิทาน ประเพณี และพิธีกรรมด้วยทฤษฎีต่างๆ 4. ร่วมกันอภิปรายและสรุปแนวทางการศึกษา |
|
9-10 |
1. นิทาน ประเพณี และพิธีกรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทและการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ 2. แนวคิดทฤษฎีและตัวอย่างงานวิจัย |
6 |
|
1. นักศึกษาอ่านบทความ “การใช้ตำนานในการจัดกลุ่มคนไท-ไท” 2. นักศึกษาอ่านบทความ "สิ่งศักดิ์สิทธิ์ มนุษย์ และสัตว์ในตำนานข้าวของชาวจ้วง มณฑลกวางสี ประเทศจีน และชาวอีสาน ประเทศไทย 3. นักศึกษาอ่านบทความ"การเปรียบเทียบนิทานพื้นบ้านไทลื้อที่สิบสองปันนาประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและไทลื้อประเทศไทย 4.. ร่วมกันอภิปรายประเด็นและวิธีการศึกษานิทานกลุ่มชาติพันธุ์ไทในเชิงเปรียบเทียบ โดยเชื่อมโยงกับอัตลักษณ์ร่วมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น 5. ให้นักศึกษาสืบค้นบทความทางวิชาการหรืองานวิจัยเกี่ยวกับนิทานกลุ่มชาติพันธุ์ไทและการศึกษาเชิงเปรียบเทียบเพื่อออภิปรายตามประเด็นที่กำหนดไว้ 6. ส่งงานการวิพากษ์บทความทาง Online |
|
11-12 |
1. นิทาน ประเพณี และพิธีกรรมในประเทศไทยกับการนำเสนออัตลักษณ์ร่วมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น |
6 |
|
1. นักศึกษาอ่านเอกสาร “ลักษณะร่วมและความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมท้องถิ่นของตำนานปฐมกัปป์/ปฐมมูล ฉบับสิบสองพันนา ล้านนา และอีสาน” และร่วมกันอภิปรายแนวทางการศึกษา 2. นักศึกษาอ่านบทความ “วรรณกรรมพื้นบ้านในชุมชนลาวหลวงพระบางกีบบทบาทการสืบสานความเป็นลาวหลวงพระบางในสังคมไทย” 3. ร่วมกันอภิปรายประเด็นและวิธีการศึกษานิทานไทยกับการนำเสนออัตลักษณ์ร่วมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น 4. ให้นักศึกษาสืบค้นบทความทางวิชาการหรืองานวิจัยเกี่ยวกับนิทานกลุ่มชาติพันธุ์ไทและการศึกษาเชิงเปรียบเทียบเพื่อออภิปรายตามประเด็นที่กำหนดไว้ |
|
13-14 |
1. นิทาน ประเพณี และพิธีกรรมในอาเซียนกับการนำเสนออัตลักษณ์ร่วมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น 2. ประเด็นปัจจุบันและแนวโน้มของการศึกษาภาษาและวรรณกรรมท้องถิ่น |
3 |
|
1. นักศึกษาอ่านเอกสาร “ความเมตตากรุณาในนิทานไทยเรื่อง ด้วยรักบันดาล นิทานสีขาว พ.ศ 2550-2551 และ นิทานเมียนมาเรื่อง Khint Thit Pone Pyin พ.ศ 2550-2553:กลวิธีการเล่าเรื่องและแนวคิดเชิงสังคม" 2. นักศึกษาอ่านวิทยานิพนธ์ “นิทานอาเซียน: ประเภทและอัตลักษณ์ร่วม" 3. ร่วมกันอภิปรายประเด็นและวิธีการศึกษานิทานอาเซียนกับการนำเสนออัตลักษณ์ร่วมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น 4. ให้นักศึกษาสืบค้นบทความทางวิชาการหรืองานวิจัยเกี่ยวกับนิทาน ประเพณี และพิธีกรรมในอาเซียนและการศึกษาเชิงเปรียบเทียบเพื่อออภิปรายตามประเด็นที่กำหนดไว้ |
|
15 | 7. การนำเสนอประเด็นการศึกษาทางวรรณกรรมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น | 6 |
|
(1) นักศึกษานำเสนอตัวอย่างการศึกษาที่เขียน เพื่ออภิปรายร่วมกัน (2) ส่งงานในระบบ e-Learning KKU |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
งานเดี่ยว บทความทางวิชาการที่ศึกษาเกี่ยวกับวรรณกรรมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น |
|
30 |
สัปดาห์ที่ 15 |
การสรุปงานและวิพากษ์งานวิจัย |
|
30 | สัปดาห์ที่ 4 และ 10 |
การนำเสนอผลการศึกษาประเด็นทางวรรณกรรมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น |
|
30 | สัปดาห์ที่ 15 |
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
10 | การเข้าเรียนและมีส่วนร่วมในชั้นเรียน รวมทั้งจริยธรรมในการศึกษา |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | ประคอง นิมมานเหมินท์.(2557). นิทานพื้นบ้านศึกษา. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุกัญญา สุจฉายา. วรรณคดีนิทานไทย. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
พยุงพร นนทวิศรุต. (2555, 1 กรกฏาคม-ธันวาคม). “ตำนานผีเจ้านายยุคอาณานิคมกับบทบาทการสร้างพื้นที่ทางสังคมใน ชุมชนไทย-ลาว” ศิลปวัฒนธรรมศึกษา. 1, 1: 155-186. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ศิราพร ณ ถลาง. (2559). คติชนสร้างสรรค์: บทสังเคราะห์และทฤษฎี. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศิราพร ณ ถลาง.(2552). ทฤษฎีคติชนวิทยา วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศิราพร ณ ถลาง, อภิลักษณ์ เกษมผลกูล, สุกัญญา สุจฉายา และศิริพร ภักดีผาสุข. (2558). เรื่องเล่าพื้นบ้านไทยในโลกที่ เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศิราพร ณ ถลาง และสุพิน ฤทธิ์เพ็ญ.(2558). คติชนในบริบทข้ามพรมแดน : งานปอยไทใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ศิราพร ณ ถลาง (บรรณาธิการ).(2558). ประเพณีสร้างสรรค์ ในสังคมไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
หนอง หยีฉอง. (2559). การเปรียบเทียบตำนานข้าวของภาคอีสานประเทศไทยกับจ้วง มณฑลกวางสี ในสาธารณรัฐ ประชาชนจีน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไท มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
อนันต์ ลากุล และอุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2560, 2 กรกฏาคม-ธันวาคม) “แบบเรื่องและอนุภาคสัตว์สีเผือกในตำนานเมืองล่ม ภาคอีสาน”. ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม. 6, 2: 37-50. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2541). บททำขวัญเรื่อและพิธีทำขวัญเรือของชาวไทยภาคใต้: การสร้างสรรค์และการถ่ายทอด. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา แก้วเทพ. (2545). เมื่อสื่อส่องและสร้างวัฒนธรรมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศาลาแดง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา แก้วเทพ. (2544). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโปรดักส์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
จิตรกร เอมพันธ์. (2545). พญานาค เจ้าแห่งแม่น้ำโขง: พิธีกรรมกับระบบความเชื่อพื้นบ้านแห่งวัฒนธรรมอีสาน. วิทยานิพนธ์มานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปฐม หงส์สุวรรณ. (2550). กาลครั้งหนึ่งว่าด้วยตำนานและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปฐม หงส์สุวรรณ.(2556). นานมาแล้ว มีเรื่องเล่า นิทาน ตำนาน ชีวิต. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (บรรณาธิการ). (2546). อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ และความเป็นชายขอบ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
พัฒนา กิติอาษา. (2545). "ตัวตนทางวัฒนธรรม: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการระดับชาติ ทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 1 เรื่อง คนมองคน: ตัวตนและชีวิตสมัยใหม่ในการเปลี่ยนแปลง" กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | วาทกรรมอัตลักษณ์. (2547). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยาวิทยาสิรินทร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | พิเชฐ แสงทอง. (2550). วาทกรรมวรรณกรรม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยสารคาม. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | โรลองด์ บาร์ตส์. (2547). มายาคติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Hall, Stuart. (1997). Representation: Cultural Representations and Signifying Practice. London : SAGE. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณนักวิจัย เข้าใจในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจิตสาธารณะ รักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรมไทย โดยเน้นบริบทของสังคมไทยถิ่นอีสาน
2.2 มีทักษะการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยโดยบูรณาการกับหลักหรือแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ
2.3 สามารถนำความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีภาษาและวรรณกรรมมาประยุกต์ในการศึกษาทางวิชาการและการวิจัยทางภาษาไทย
3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินคุณค่าผลงานทางวิชาการและงานวิจัยในสาขาวิชาภาษาไทยเพื่อพัฒนาความรู้หรือแนวคิดใหม่
3.2 สามารถดำเนินการวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยโดยบูรณาการกับศาสตร์อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำทางวิชาการ มีความรับผิดชอบ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เต็มตามศักยภาพ
4.2 แสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงานได้
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้