Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2564
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS857201
ภาษาไทย
Thai name
โลกาภิวัตน์กับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในลุ่มน้ำโขง
ภาษาอังกฤษ
English name
Globalization and Socio-cultural Change in the Mekong Region
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
    • ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      แนวคิดและทฤษฎีว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม การปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง โลกาภิวัตน์และวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง โลกาภิวัฒน์และสังคมความเสี่ยงในลุ่มน้ำโขง โลกาภิวัตน์และปรากฎการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง ผลกระทบของโลกาภิวัตน์ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของผู้คนในลุ่มน้ำโขง
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Concepts and theories in social and cultural changes; interaction of globalization and localism in the Mekong region; globalization and Mekong culture; globalization and risk society in the Mekong region; globalization andtrans-boundary phenomenon in the Mekong region; impacts of globalization on social and cultural changes and lifestyles in the Mekong Region.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Online learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 แนะนำรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอน 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) พบนักศึกษาแจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และแนะนำการเรียนการสอน และแนวทางการประมวลผลรายวิชา
      (2) นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและซักถามเกี่ยวกับการเรียนการสอน
      (3) อาจารย์ตอบข้อซักถามนักศึกษา
      2 1. แนวคิด และทฤษฎีการว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมในบริบทโลกาภิวัตน์
      -บทนำ
      -แนวคิดพัฒนาการความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในลุ่มน้ำโขงกับกระแสโลกาภิวัตน์
      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
      3 2.โลกาภิวัตน์: สถานะในทางความคิดกับมิติการท่องเที่ยวในลุ่มน้ำโขง
      -ภววิทยาของโลกาภิวัตน์ในสังคมการเปลี่ยนแปลงการการท่องเที่ยว

      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      3 5. สื่อกับสิทธิเสรีภาพภายใต้โลกาภิวัตน์ทางวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง
      -สื่อกับสมรรถนะแห่งสิทธิ
      -การสื่อสาร สื่อ เศรษฐกิจเสรี และโลกไร้พรมแดน
      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      4 3. โลกาภิวัตน์กับสังคมความเสี่ยงในลุ่มน้ำโขง
      -ความเสี่ยงทางด้านสาธารณสุข
      -ความเสี่ยงกับการแพร่กระจายโรคระบาด
      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม


      5 4. โลกาภิวัตน์กับปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง บริบทความไม่เป็นธรรมทางเพศ
      -สตรีเพศกับการจ้างงาน
      -การค้าสตรีและเด็ก
      -ความรุนแรงต่อสตรี
      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      7 6. ศาสนา ความเชื่อกับภาวะโลกาภิวัตน์ในอนุภาคลุ่มน้ำโขง
      - แนวคิดด้านศาสนาและพิธีกรรม
      - ความเชื่อในอนุภาคลุ่มน้ำโขง
      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      8 7. ความเป็นท้องถิ่นนิยมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      -ท้องถิ่นนิยม
      -ท้องถิ่นนิยมกับโลกาภิวัตน์
      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      9 8. การปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      -สัมพันธภาพของผู้คนในท้องถิ่นกับการจัดการความรู้ในภาวะสมัยใหม่
      -ปฏิสัมพันธ์ของคนท้องถิ่น วัฒนธรรม และองค์ความรู้ที่เปลี่ยนไปในประเทศลุ่มน้ำโขง
      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      10 9. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการบริโภค
      -วิถีการบริโภคในสังคม ลุ่มน้ำโขง

      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      11 10. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมในประเด็นครอบครัวข้ามชาติสังคมลุ่มน้ำโขง 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      12 11. ปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง บริบทการย้ายถิ่นในยุคโลกาภิวัตน์
      -สถานการณ์การย้ายถิ่นในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
      -ปัญหาและความต้องการของผู้ย้ายถิ่น

      3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

      13 12. ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมและประเด็นถกเถียงทางสังคมในสังคมลุ่มน้ำโขง 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
      14 สรุปแนวคิดโลกาภิวัตน์และการประยุกต์ เชื่อมโยงสู่การวิจัย 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ปรากฏการณ์สังคม-วัฒนธรรมร่วมสมัย
      (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า
      (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
      15 การนำเสนอรายงานของนักศึกษา 3
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • C1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      (1) นักศึกษานำเสนอรายงาน
      (2) อาจารย์เปิดโอกาสให้ผู้ฟังถามหรือแสดงความคิดเห็นต่อรายงานของนักศึกษา
      (3) อาจารย์ให้ความเห็น/ข้อเสนอแนะต่อรายงานของนักศึกษา
      (4) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน
      (5) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      Review บทความวิชาการ 2 เรื่อง
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • A1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      40 เรื่องละ 20 คะแนน

      การทำรายงาน (ทบทวนแนวคิด/ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง) และการนำเสนอรายงาน
      • K1: ผู้เรียนมีความรู้ในแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง
      • K2: ผู้เรียนมีความรู้ในบทบาทโลกาภิวัตน์ และปรากฏการณ์ข้ามแดนในลุ่มน้ำโขง
      • S1: ผู้เรียนสามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวแนวคิดและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกาภิวัตน์กับท้องถิ่นนิยมในลุ่มน้ำโขง ไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      • A1: นักศึกษาใฝ่รู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
      60
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)