Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยา
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2565
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS477108
ภาษาไทย
Thai name
ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมขั้นสูง 2
ภาษาอังกฤษ
English name
Advanced Social Research Methodology II
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS477107#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ศาสตราจารย์ดุษฎี อายุวัฒน์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาณุ สุพพัตกุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบการวิจัยทางสังคมขั้นสูง และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบวิจัย เช่น การศึกษาข้ามพรมแดน การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาประเมินผล การบูรณาการเชิงระบบ การศึกษาประชากรศาสตร์ การศึกษานโยบาย การศึกษาอนาคต และการศึกษามิติเชิงคุณภาพ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงาน
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ภาษาอังกฤษ
      English
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Project-based learning
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 ความคิดพื้นฐานของการวิจัยสังคมขั้นสูง
      - การวิจัยทางสังคมขั้นสูง
      - ยุทธศาสตร์และการบริหารการวิจัย
      6
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบการวิจัยทางสังคมขั้นสูง และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบวิจัย เช่น การศึกษาข้ามพรมแดน การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาประเมินผล การบูรณาการเชิงระบบ การศึกษาประชากรศาสตร์ การศึกษานโยบาย การศึกษาอนาคต และการศึกษามิติเชิงคุณภาพ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาแจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และแนะนำการเรียนการสอน และแนวทางการประมวลผลรายวิชา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีในประเด็นกระบวนทัศน์การวิจัยทางสังคม ด้วย PPT และกรณีศึกษา
      (3) นักศึกษาวิพากษ์และเสนออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา
      3-7 หัวข้อเฉพาะในการออกแบบการวิจัยสังคมขั้นสูง
      - การศึกษาบูรณาการเชิงระบบ
      -การศึกษาทางประชากรศาสตร์
      - การศึกษาข้ามพรมแดน
      - การศึกษานโยบาย
      - การศึกษาอนาคต
      15
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบการวิจัยทางสังคมขั้นสูง และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบวิจัย เช่น การศึกษาข้ามพรมแดน การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาประเมินผล การบูรณาการเชิงระบบ การศึกษาประชากรศาสตร์ การศึกษานโยบาย การศึกษาอนาคต และการศึกษามิติเชิงคุณภาพ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นการพัฒนาความคิดรวบยอด ด้วย PPT และกรณีศึกษา
      (3) นักศึกษาวิพากษ์และเสนออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา
      8-10 หัวข้อเฉพาะในการออกแบบการวิจัยสังคมขั้นสูง
      - การศึกษามิติเชิงคุณภาพ
      9
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบการวิจัยทางสังคมขั้นสูง และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบวิจัย เช่น การศึกษาข้ามพรมแดน การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาประเมินผล การบูรณาการเชิงระบบ การศึกษาประชากรศาสตร์ การศึกษานโยบาย การศึกษาอนาคต และการศึกษามิติเชิงคุณภาพ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นกระบวนการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ด้วย PPT และกรณีศึกษา
      (3) นักศึกษาวิพากษ์และเสนออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา
      11-14 หัวข้อเฉพาะในการออกแบบการวิจัยสังคมขั้นสูง
      - เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณขั้นสูง
      12
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบการวิจัยทางสังคมขั้นสูง และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบวิจัย เช่น การศึกษาข้ามพรมแดน การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาประเมินผล การบูรณาการเชิงระบบ การศึกษาประชากรศาสตร์ การศึกษานโยบาย การศึกษาอนาคต และการศึกษามิติเชิงคุณภาพ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาในประเด็นการออกแบบวิจัยเชิงปปริมาณและเชิงคุณภาพด้วย PPT และกรณีศึกษา
      (3) นักศึกษาวิพากษ์และเสนออภิปรายกรณีตัวอย่างร่วมกัน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา
      15 นักศึกษานำเสนอข้อเสนอเชิงหลักการดุษฎีนิพนธ์ตนเอง 3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบการวิจัยทางสังคมขั้นสูง และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบวิจัย เช่น การศึกษาข้ามพรมแดน การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาประเมินผล การบูรณาการเชิงระบบ การศึกษาประชากรศาสตร์ การศึกษานโยบาย การศึกษาอนาคต และการศึกษามิติเชิงคุณภาพ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษา และทบทวนเนื้อหาที่ผ่านมา
      (2) นักศึกษานำเสนอโครงร่างการวิจัย
      (3) อาจารย์ประจำวิชาและผู้ทรงคุณวุฒิให้ข้อเสนอแนะในการทำงาน
      (4) ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา และประเมินผลการสอนรายวิชา
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การค้นคว้าด้วยตนเอง แบบฝึกหัด การบ้าน
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบการวิจัยทางสังคมขั้นสูง และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบวิจัย เช่น การศึกษาข้ามพรมแดน การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาประเมินผล การบูรณาการเชิงระบบ การศึกษาประชากรศาสตร์ การศึกษานโยบาย การศึกษาอนาคต และการศึกษามิติเชิงคุณภาพ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      20
      การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ออกแบบการวิจัย ด้วยการวิจัยแบบ Mixed-Methodology เกี่ยวกับประเด็นวิจัยที่เลือก และแนวคิด ทฤษฎีที่ใช้ อย่างละ 2 รายการ
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบการวิจัยทางสังคมขั้นสูง และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบวิจัย เช่น การศึกษาข้ามพรมแดน การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาประเมินผล การบูรณาการเชิงระบบ การศึกษาประชากรศาสตร์ การศึกษานโยบาย การศึกษาอนาคต และการศึกษามิติเชิงคุณภาพ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      35
      รายงาน และนำเสนองานดุษฎีนิพนธ์ที่ใช้การออกแบบการวิจัย อย่างใดอย่างหนึ่ง (จากสัปดาห์ที่ 3-7)
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบการวิจัยทางสังคมขั้นสูง และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบวิจัย เช่น การศึกษาข้ามพรมแดน การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาประเมินผล การบูรณาการเชิงระบบ การศึกษาประชากรศาสตร์ การศึกษานโยบาย การศึกษาอนาคต และการศึกษามิติเชิงคุณภาพ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      20
      รายงาน และการนำเสนอโครงร่างดุษฎีนิพนธ์
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบการวิจัยทางสังคมขั้นสูง และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบวิจัย เช่น การศึกษาข้ามพรมแดน การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาประเมินผล การบูรณาการเชิงระบบ การศึกษาประชากรศาสตร์ การศึกษานโยบาย การศึกษาอนาคต และการศึกษามิติเชิงคุณภาพ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      20
      การมีส่วนร่วมในการตั้งคำถาม เข้าชั้นเรียน และการประเมินผลการสอน
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบการวิจัยทางสังคมขั้นสูง และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการดำเนินการวิจัยทางสังคมขั้นสูง การออกแบบวิจัย เช่น การศึกษาข้ามพรมแดน การศึกษาเปรียบเทียบ การศึกษาประเมินผล การบูรณาการเชิงระบบ การศึกษาประชากรศาสตร์ การศึกษานโยบาย การศึกษาอนาคต และการศึกษามิติเชิงคุณภาพ และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงาน รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยทางสังคมศาสตร์
      5
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ชาย โพธิสิตา. (2562). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา ดุษฎี อายุวัฒน์. (2562). ศาสตร์และวิธีวิทยาการศึกษาการย้ายถิ่นของประชากร. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา. อาจารย์ภายในคณะ
      หนังสือ หรือ ตำรา บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: การพิมพ์พระนคร. อาจารย์ภายนอกคณะ
      หนังสือ หรือ ตำรา สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2549). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวสู่การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. ขอนแก่น : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ อาจารย์ภายในคณะ
      หนังสือ หรือ ตำรา สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา สำเริง จันทรสุวรรณ และสุวรรณ บัวทวน. (2547). สถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
      หนังสือ หรือ ตำรา สุภางค์ จันทวานิช. (2552). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา อารี จำปากลาย. (2562). การวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยขั้นสูง. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Adams, Gerald R. and Schvaneveldt, Jay D. (1991). Understanding Research Methods. New York: Longman. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Anderson, R.L. and Bancroft, T.A. (1992). Statistical Theory in Research. New York: McGraw-Hill book Company, Inc. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Arkin, Herbert and Colton, Raymond R. (1967). Statistical Methods. New York: Barnes & Noble Inc. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Babbie, Earl, R. (1989). The Practice of Social Research. Belrfong. CA: Wadsworth Publishing Company. Inc. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Backstrom, Charles H. And Hursh, Gerald D. (1974). Survey Research. Evanston, Min: Northwestern University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Cresswell, J.W. (2009). Research Design: Qualitative, Quantitative and Mixed Methods Approaches. 3rd ed. California: Sage. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Dooley, David. (2001). Social Research Methods. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice-Hall. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Holstein, J.A. and Gubrium, J.F. (2014). Phenomenology, Ethnomethodology, and Interpretive Practice. In N.K. Denzin and S.Y, Lincoln (Eds). Handbook of Qualitative Research. (pp. 11-24). Newbury Park, CA: Sage Publications. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Neuman, W. Lawrence. (1997). Social Research Methods: Qualitative and Quantitative Approaches. London: Allyn and Bacon. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Stoecker, Randy. (2005). Research Methodology Community Change: A project Based Approach. London : SAGE Publications Ltd. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Teddlie, Ch. and Tashakkori, A. (2009). Foundations of Mixed Methods Research: Integrating Quantitative and Qualitative Approaches in the Social and Behavioral Sciences. Thousand Oaks, CA: Sage. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Vaus, David de. (2001). Research Design in Social Research. London : SAGE Publications Ltd อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)