รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
1. Class Orientation - Introduction to Current Issues in Social Sciences |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 อธิบายประมวลรายวิชา แนะนำการเรียนการสอน จุดประสงค์การเรียนรู้และรูปแบบการประเมินผล 1.2 บรรยาย 1.3 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.4 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
2 |
2. Realism 2.1 Introduction 2.2 Realism in context 2.3 One realism, or many? 2.4 The essential realism |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
3 |
3. Liberalism 3.1 Introduction and context 3.2 Founding ideas of nineteenth-century liberal internationalism 3.3 Internationalism and institutionalism: peace through law |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
4 |
4. Marxist Theories 4.1 The essential elements of Marxist theories of world politics 4.2 Marx internationalized: from imperialism to world-systems theory 4.3 Gramscianism 4.4 Critical theory |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
5 |
5. Gender & Feminism 5.1 What is gender & feminism? 5.2 Where are the women? 5.3 Gender and power 5.4 Feminism and power |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
6 |
6. Nations & Nationalism 6.1 Terminological debates 6.2 How nationalism shaped modern states and society 6.3 New nationalisms in contemporary world politics Conclusion |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
7 |
7. Refugees Migration 7.1 States, refugees and immigrants 7.2 Controlling migration: A brief history 7.3 The origins and purposes of refugee law 7.4 The distribution of refugees |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
8 |
8. Human Security & Hunger 8.1 Human security 8.2 Food security and hunger |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
9 |
Mid-term Break |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
||
10 |
10. Global Political Economy 10.1 Global governance and the global economy 10.2 Perspectives on global economic institutions 10.3 Global economic institutions and the management of the global economy 10.4 The global economic institutions and contemporary challenges |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
11 |
11. Global Trade & Global Finance 11.1 Global economic system 11.2 The rise and fall of the Bretton Woods system 11.3 Domestic stagflation 11.4 Debt crises at home and abroad |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
12 |
12. Poverty 12.1 Global poverty and inequality in development 12.2 A relational approach to global poverty, inequality and development 12.3 From the Millennium Development Goals to the 2030 Sustainable Development Goals |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
13 |
13 Media 13.1 Theorizing Media and Conflict: Paradigms and Perspectives 13.2 media and politics |
3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
14 | 14. Wrap-Up | 3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
15 | 15. Final Paper Presentation (I) | 3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
16 | 16. Final Paper Presentation (II) | 3 |
|
1. กิจกรรมการเรียนการสอน 1.1 บรรยาย 1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา 1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น 2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน 2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง 2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint 2.3 YouTube 3. ช่องทางการเรียนการสอน 3.1 ในห้องเรียน 3.2 Google Classroom |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
งานเดี่ยว - การสรุปองค์ความรู้และวิเคราะห์เนื้อหาที่เรียนในชั้นเรียน |
|
10 | |
งานเดี่ยว - การสรุปเนื้อหาและวิเคราะห์บทความที่กำหนด |
|
30 | |
งานกลุ่ม - การนำเสนอบทความที่ได้รับมอบหมาย |
|
10 | |
งานเดี่ยว – รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
|
25 | |
สอบปลายภาค |
|
25 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
เดวิด ฮาร์วี่. 2550. ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่. แปลจาก A Brief History of Neoliberalism (2007), แปลโดย ภัควดี วีระภาสพงษ์, สุรัตน์ โหราชัยกุล และอภิรักษ์ วรรณสาธพ. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | บุษบา สุริยสาร. 2557. อัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทย. องค์การแรงงานระหว่างประเทศประจำประเทศไทย กัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว; โครงการส่งเสริมสิทธิ ความหลากหลาย และความเท่าเทียมในโลกของการทำงาน (PRIDE). กรุงเทพฯ : องค์การแรงงานระหว่างประเทศ. | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
(ออนไลน์, https://www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/---asia/---ro-bangkok/---sro-bangkok/documents/publication/wcms_356948.pdf). |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
ปณิธี บราวน์ (บรรณาธิการ). 2561. ความสัมพันธ์ใกล้ชิดในบริบทข้ามพรมแดน, วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (ออนไลน์, เข้าถึงเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2561, https://tci-thaijo.org/index.php/JSA/issue/view/10877.). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
แมนเฟร็ด สเตเกอร์ และ รวี รอย. 2559. เสรีนิยมใหม่: ความรู้ฉบับพกพา. แปลจาก Neoliberalism: A Very Short Introduction แปลโดย วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
แมนเฟร็ด สเตเกอร์ และ รวี รอย. 2559. เสรีนิยมใหม่: ความรู้ฉบับพกพา. แปลจาก Neoliberalism: A Very Short Introduction แปลโดย วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
สร้อยมาศ รุ่งมณี (บรรณาธิการ). 2561. ไทยนอกแผ่นดิน: Thai Outside Thailand, วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2561. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (ออนไลน์, เข้าถึงเมื่อ 27 พฤจิกายน 2561, https://www.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/149068/109565). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Bonilla-Silva, Eduardo. 2017. Racism Without Racists: Color-Blind Racism and the Persistence of Racial Inequality in America. Boulder, CO: Rowman & Littlefield. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Centero, Miguel A. and Joseph N. Cohen. 2010. Global Capitalism: A Sociological Perspective. Malden, MA: Polity Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Connell, R.W. 2005. Masculinities. Berkeley, University of California Press. Ehrenreich, Barbara and Arlie Russell Hochschild (ed.). 2004. Global Woman: Nannies, Maids, and Sex Workers in the New Economy. New York, NY: Henry Holt and Company, LLC. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Yuval-Davis, Nira. 2006. “Intersectionality and Feminist Politics.” European Journal of Women’s Studies 13(3): 193-209. |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. 2551. “ทฤษฏีสตรีนิยมแนววิพากษ์,” หน้า 586-632 ใน สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ: อินทนิล. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | จักริช สังขมณี. 2554. “ความเป็นชาย(ส์)หลากมิติ: การสร้างความรู้ การถือครองอำนาจ และการกลายเป็นอื่น,” หน้า 273-288 ใน ความรัก วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 1-2/2554. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
หญิงในประเทศไทย: วิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ข้อถกเถียงและยุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิฟรีดริช เอแบร์ท. (ออนไลน์, เข้าถึงเมื่อ 27 พฤจิกายน 2561, http://library.fes.de/pdf-files/bueros/thailand/13364-20170526.pdf). |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
โตมร ศุภปรีชา. 2560. “ใต้หน้ากากความเป็นชาย.” (ออนไลน์, เข้าถึงเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2561, https://themomentum.co/the-mask-you-live-in). -----------------------. 2561. “White Feminism: เรื่องน่าเห็นใจในความขาว.” (ออนไลน์, เข้าถึงเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2561, https://thematter.co/thinkers/white-feminism/48258). |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Bourne, Jenny. 2001. “The Life and Time of Institutional Racism.” Race & Class (43(2):7-22. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Karlick, Alexandra. 2018. “What Our Skeletons Say About the Sex Binary.” (Online, Retrieved on November 27, 2018, https://www.sapiens.org/body/intersex-biological-sex/). |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม |
Phillips, Coretta. 2011. “Institutional Racism and Ethnic Inequalities: An Expanded Multilevel Framework.” Journal of Social Policy 40(1):173-192. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | ธนพล สราญจิตร์. (2558). “ปัญหาความยากจนในสังคมไทย.” EAU Heritage Journal Social Science and Humanity, 5(2), 12-21. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | ตฤณ ไอยะรา. (2556). "รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน์: ประวัติศาสตร์อย่างย่อของการจัดระเบียบเศรษฐกิจโลก" วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 19(2), 3-56. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ไมเคิล แซนเดล. 2556. เงินไม่ใช่พระเจ้า. แปลจาก What Money Can’t Buy: The Moral Limits of Markets (2012), แปลโดย สฤณี อาชวานันทกุล. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์. หน้า 12-53 | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม | ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. (2541). วาทกรรมว่าด้วย “ชาวเขา.” วารสารสังคมศาสตร์ 11(1), 92-135. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้
อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ