Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS612306
ภาษาไทย
Thai name
เรื่องสั้นและนวนิยาย
ภาษาอังกฤษ
English name
SHORT STORIES AND NOVELS
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทภาษาไทย สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง 2564)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์มารศรี สอทิพย์
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์มารศรี สอทิพย์
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของเรื่องสั้นและนวนิยาย
  • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องสั้นและนวนิยาย
จริยธรรม
Ethics
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงานเกี่ยวกับเรื่องสั้นและนวนิยาย
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องสั้นและนวนิยายจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    พัฒนาการ กลการประพันธ์ ความสัมพันธ์กับสังคม เรื่องสั้นและนวนิยายคัดสรร
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Development, devices, relationship with society, selected short stories and novels
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 ชี้แจงรายละเอียดวิชา วิธีการเรียน
    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องสั้นและนวนิยาย
    -ความหมาย / ประเภท แนวความคิดเกี่ยวกับการศึกษาเรื่องสั้นและนวนิยาย
    ประเมินผลการเรียนด้วยการอิงกลุ่มผู้เรียน
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของเรื่องสั้นและนวนิยาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย เรื่อง ความหมาย / ประเภท แนวความคิดเกี่ยวกับการศึกษาเรื่องสั้นและนวนิยาย

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    YouTube
    ในห้องเรียน
    3-5 เรื่องสั้น
    - พัฒนาการ
    - กลการประพันธ์
    - บริบททางสังคมและการเมือง
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของเรื่องสั้นและนวนิยาย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอเกี่ยวกับพัฒนาการ กลการประพันธ์ของเรื่องสั้น

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    YouTube
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ในห้องเรียน
    6-8 เรื่องสั้นคัดสรร
    - คิด วิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องสั้น
    - คุณธรรมจริยธรรมของตัวละครในเรื่องสั้น
    - คุณค่าของเรื่องสั้น
    9
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องสั้นและนวนิยาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องสั้นและนวนิยายจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการวิจารณ์เรื่องสั้น

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการ
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    YouTube
    ในห้องเรียน
    9-11 นวนิยาย
    - พัฒนาการ
    - กลการประพันธ์
    - บริบททางสังคมและการเมือง
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของเรื่องสั้นและนวนิยาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องสั้นและนวนิยายจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย เรื่อง พัฒนาการของนวนิยาย

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการ
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    YouTube
    ในห้องเรียน
    12-13 นวนิยายคัดสรร
    - คิด วิเคราะห์ วิจารณ์นวนิยาย
    - คุณธรรมจริยธรรมของตัวละครในนวนิยาย
    - คุณค่าของนวนิยาย
    6
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องสั้นและนวนิยาย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงานเกี่ยวกับเรื่องสั้นและนวนิยาย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอการวิเคราะห์นวนิยาย

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    YouTube
    ในห้องเรียน
    14-15 การนำเสนอรายงานการค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องสั้นและนวนิยาย 6
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงานเกี่ยวกับเรื่องสั้นและนวนิยาย
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับเรื่องสั้นและนวนิยาย

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    YouTube
    ในห้องเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    แบบฝึกหัด
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของเรื่องสั้นและนวนิยาย
    20 สัปดาห์ที่ 5 และ 11
    การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
    และรายงาน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงานเกี่ยวกับเรื่องสั้นและนวนิยาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องสั้นและนวนิยายจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    40 สัปดาห์ที่ 14-15
    การสอบกลางภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของเรื่องสั้นและนวนิยาย
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องสั้นและนวนิยาย
    20 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
    การสอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของเรื่องสั้นและนวนิยาย
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องสั้นและนวนิยาย
    20 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา อิราวดี ไตลังคะ. (2549). ศาสตร์และศิลป์แห่งการเล่าเรื่อง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
    เกษตรศาสตร์.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา เกศินี จุฑาวิจิตร. (2550). ภาพสะท้อนสังคมและโลกทัศน์นักเขียนจากเรื่องสั้นยุควิกฤติเศรษฐกิจ.
    นครปฐม : มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ตรีศิลป์ บุญขจร. (2542). นวนิยายกับสังคมไทย. (2475–2500) กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วิพุธ โสภวงศ์, บรรณาธิการ. (2541). “รวมบทความว่าด้วยเรื่องสั้น พ.ศ.2575–2540”. วารสารภาษาและหนังสือ
    ปีที่ 29.
    สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย. (2555). 40 เรื่องสั้น 40 บทกวี 40 ปี สมาคมนักเขียนแห่ง
    ประเทศไทย. สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์, บรรณาธิการ. (2547). มองข้ามบ่านักเขียน : เรื่องสั้นไทยในทัศนะนักวิจารณ์.
    กรุงเทพฯ : ชมนาด.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ------------------------------------------------. (2548). ทางสายใหม่แห่งวรรณกรรมไทย : ทัศนะวิจารณ์ต่อนวนิยาย
    ยุคแรก. กรุงเทพฯ : ชมนาด.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์. (2536). คนกับหนังสือ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ---------------------------. (2545). อ่านไม่เอาเรื่อง. กรุงเทพฯ : คบไฟ.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ธเนศ เวศร์ภาดา. (มปท). ดินสอขอเขียน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ปานริสา.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ----------------. (2543). ทะเลปัญญา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศยาม.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ----------------. (2549). หอมโลกวรรณศิลป์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ปาเจรา.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา นพพร ประชากุล. (2544). มายาคติ. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา บาหยัน อิ่มสำราญ. (2548). วิพากษ์วรรณกรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ตุลารำลึก.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ประชา สุวีรานนท์. (2542). แล่ เนื้อ เถือ หนัง. กรุงเทพฯ : มติชน.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ พิเชฐ แสงทอง, บรรณาธิการ. (2549). “วรรณกรรมกับประวัติศาสตร์” วารสารภาษาและหนังสือ ปีที่ 37.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ มารศรี สอทิพย์. (2542). ลีลาเสียดสีในงานวรรณกรรมของลาว คำหอม. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหา
    บัณฑิต สาขาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา รัญจวน อินทรกำแหง. (2539). ภาพชีวิตจากนวนิยาย. กรุงเทพฯ : บริษัทต้นอ้อ แกรมมี่จำกัด.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล ราชบัณฑิตยสถาน. (2545). พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรม อังกฤษ - ไทย. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา รื่นฤทัย สัจจพันธ์. (2539). อ่านอย่างมีเชิงชั้น วิจารณ์อย่างมีเชิงศิลป์. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา -----------------------. (2547). พลังการวิจารณ์ : วรรณศิลป์. กรุงเทพฯ : ประพันธ์สาส์น.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ว.วินิจฉัยกุล. (2537). ปากไก่วรรณกรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ดอกหญ้า
    ศรีฟ้า (ลดาวัลย์) มหาวรรณ, หม่อมหลวง. (2553). นวนิยาย : บทวิจารณ์นวนิยายสามเรื่องของศิลปินแห่งชาติ.
    กรุงเทพฯ : แพรวสำนักพิมพ์,
    เสนาะ เจริญพร. (2548). ผู้หญิงกับสังคมในวรรณกรรมไทยยุคฟองสบู่. กรุงเทพฯ : มติชน.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา อบ ไชยวสุ. (2553). เพชรน้ำเอก เรื่องสั้นและความเรียงคัดสรรของศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์.
    กรุงเทพฯ : แพรวสำนักพิมพ์.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    YouTube www.youtube.com/watch?v=PuADxH21CDo พัฒนการนวนิยายไทย
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    YouTube www.youtube.com/watch?v=uGRjhsA0PVA โลกนักอ่านบ้านนักเขียน อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    YouTube www.youtube.com/results?search_query นักเขียนซีไรต์ อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.praphansarn.com/ วิจารณ์หนังสือ อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
    1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
    2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
    2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
    2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
    3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
    3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
    3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
    5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
    5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
    5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ