Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS412303
ภาษาไทย
Thai name
เศรษฐศาสตร์สำหรับรัฐประศาสนศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
English name
Economic for Public Administration
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์อิมรอน โสะสัน
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์อิมรอน โสะสัน
    • อาจารย์ฐาลินี สังฆจันทร์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    จริยธรรม
    Ethics
    • ่เพื่อให้นักศึกษาสามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    • เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
    • เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ระบบเศรษฐกิจของของโลกและของประเทศไทย การกำหนดนโยบายนโยบายการคลัง แนวคิดเบื้องต้นทางด้านปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ บทบาทของรัฐในระบบเศรษฐกิจ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Global and Thailand economic system, Budget policy formulation, introduction to economic problem, roles of government in economic system
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Task-based learning
    • Experiential learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 การแนะนำรายวิชาและวิธีการประเมินผลในสัปดาห์แรก ก่อนเข้าสู่บทเรียน
    - แนวคิดความหมายของระบบเศรษฐกิจการเมืองในภาพรวม
    3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
    • C3: เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
    KKU e-Learning
    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    ในห้องเรียน
    e-Learning
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บรรยาย เรื่อง
    2 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบเศรษฐกิจและการเมือง 3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
    KKU e-Learning
    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    ในห้องเรียน
    e-Learning
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บรรยาย เรื่อง
    3-4 เศรษฐกิจและการเมือง ในยุคบรรพกาล 6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
    KKU e-Learning
    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    ในห้องเรียน
    e-Learning
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บรรยาย เรื่อง
    5-6 ระบบเศรษฐกิจและการเมืองแบบทุนนิยม 6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
    • C3: เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
    KKU e-Learning
    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    ในห้องเรียน
    e-Learning
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บรรยาย เรื่อง
    7-9 ระบบเศรษฐกิจและการเมืองแบบสังคมนิยม 9
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
    • C3: เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
    KKU e-Learning
    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    ในห้องเรียน
    e-Learning
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บรรยาย เรื่อง
    10-11 ระบบเศรษฐกิจและการเมืองแบบผสม 6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
    KKU e-Learning
    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    ในห้องเรียน
    e-Learning
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บรรยาย เรื่อง
    12-13 ระบบเศรษฐกิจและการเมืองแบบอนุรักษ์นิยมใหม่และเสรีนิยมใหม่ 6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
    • C3: เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
    KKU e-Learning
    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    ในห้องเรียน
    e-Learning
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บรรยาย เรื่อง
    14-15 ระบบเศรษฐกิจและการเมืองแบบวิพากษ์และหลังทุนนิยม
    • แนวทางการใช้ประโยชน์จากความรู้และประสบการณ์ การแสวงหาความรู้ต่อยอด และข้อเสนอแนะทั่วไปจากผู้เรียน
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • C1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    • C2: เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมที่ยึดถือความถูกต้องดีงามและผลประโยชน์ของสังคม มีจริยธรรม พร้อมทั้งรู้จักสิทธิและหน้าที่ในบทบาทของนักบริหาร ข้าราชการภาครัฐที่ดี
    • C3: เพื่อให้นักศึกษามีทัศนคติ มีความภูมิใจ ชื่นชอบที่จะเป็นบุคลากรส่วนหนึ่งในการใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
    KKU e-Learning
    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    ในห้องเรียน
    e-Learning
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บรรยาย เรื่อง
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    งานกลุ่ม
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    15
    สอบปลายภาค
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    30
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    10
    งานเดี่ยว (เรียนรู้ด้วยตัวเอง )
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    10
    งานเดี่ยว
    งานกลุ่ม
    ในชั้นเรียน
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ หลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี พัฒนาการ และแนวทางการศึกษาทางด้านระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากตำรา เอกสาร การเรียนในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    35
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา กองเงิน สุทธิพิทักษ์. (2562). นโยบายการคลังและงบประมาณ. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
    หนังสือ หรือ ตำรา เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม. (2552). การคลังว่าดวยการจัดสรรและการกระจาย, พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา จรัส สุวรรณมาลา. (2551). ปฏิรูประบบการคลังไทย: กระจายอำนาจสู่ภูมิภาคและทองถิ่น. ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย.(2560). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 40. น. 16.
    หนังสือ หรือ ตำรา สถาพร เริงธรรม. (2563). การเงินการคลังสาธารณะ. เอกสารอัดสำเนา.
    หนังสือ หรือ ตำรา สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2551). การศึกษาวินัยทางการคลังของประเทศไทย. กรุงเทพฯ.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://dataservices.mof.go.th /Dataservices /GovernmentRevenue.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?ReportID=๔๐๙ . http://www.buakaew.net/Public_Finance๒.php
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ https://www.kasikornresearch.com/th/k- econanalysis/pages/ViewSummary.aspx?docid=๓๘๒๖.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://highsocialpb.blogspot.com/๒๐๑๕/๑๑/blog-post_๒๐.html.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.fpo.go.th/S-I/Source/ECO/ECO10.htm.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ https://laymaneconomicsblog.wordpress.com/๒๐๑๖/๐๑/๒๙/๓๖/.
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
    1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

    3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
    3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
    4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
    4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
    5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
    5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
    5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ