รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
แนะนำรายวิชา ข้อตกลงเบื้องต้น ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการแปล |
6 |
|
1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน 2) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips (Clip 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการแปล และความหมายของการแปล Clip 2 หลักการแปล) 3) นักศึกษาอภิปราย ร่วมกันใน หัวข้อที่ 1 Discussion Forums หัวข้อ “งานแปลที่ดีมีลักษณะอย่างไร” 4) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบ การสอนตอนที่ 1 และดู YouTube หัวข้อ Translation Techniques (https://youtu.be/HKkHL03ZNwQ) และทำ infographic สรุปความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ การแปลและหลักการแปล ส่งงานผ่านระบบ KKU e-Learning 5) นักศึกษาทำแบบฝึกหัด จับคู่และแลกเปลี่ยนเพื่อแก้ไขงานแปลให้กับคู่ของตน (online) 6) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรมZoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับปัญหาการแปลและหลักการแปลที่นักศึกษาใช้ในการแปล สรุปความหมายการแปลและหลักการแปลเบื้องต้นร่วมกัน รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาการแปลและการแก้ไขงานแปล |
|
3 |
- ความแตกต่างระหว่างโครงสร้างภาษาอังกฤษและภาษาไทย - การแปลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
3 |
|
1) นักศึกษาศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอนหัวข้อ - ความแตกต่างระหว่างโครงสร้างภาษาอังกฤษและภาษาไทย - การแปลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2) ในชั้นเรียนผ่านโปรแกรม Zoom นักศึกษาอภิปรายความแตกต่างระหว่างโครงสร้างภาษาไทยและภาษาอังกฤษ/ การแปลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3) นักศึกษาสรุปความรู้ทั้งสองประเด็นส่งใน KKU e-Learning |
|
4-8 | การแปลข้อความภาษาอังกฤษโดยอิงบริบทในระดับคำและประโยค | 15 |
|
1) นักศึกษาเข้าฟังคลิปภาคทฤษฏี 2 หัวข้อ Clip 1 หลักการและวิธีการแปลระดับคำและวลี Clip 2 หลักการและวิธีการแปลระดับประโยคและศึกษาเอกสารประกอบการสอนตอนที่ 2 (ไฟล์ pdf) 2) ทำแบบทดสอบย่อยเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลระดับคำและวลี และทำแบบฝึกหัดแปลระดับคำและวลี จำนวน 2 แบบฝึกหัด 3) จับคู่และให้แก้ไขข้อผิดพลาดในการแปลพร้อมให้ข้อเสนอแนะกับเพื่อนในการพัฒนางานแปล (online) 4) ปรับบทแปลให้เป็นบทแปลที่ถูกต้องและเหมาะสม ส่งงานใน หัวข้อที่ 2 ใน KKU e-Learning 5) นักศึกษาฟัง Youtube: หัวข้อ Cultural translation (https://youtu.be/_7PnoxLiw0k) และสรุปทำโน้ตย่อส่งใน KKU e-Learning หัวข้อที่ 2 6) ทุกอาทิตย์พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ หลักการแปลระดับคำและวลี ปัญหาการแปลและการแก้ไขงานแปล รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการแปลในแบบฝึกหัดแปล |
|
9 | สอบกลางภาค | 3 |
|
นักศึกษาทำข้อสอบ | |
10-15 |
การแปลข้อความภาษาอังกฤษโดยอิงตัวบท 1. การแปลตัวบทเน้นเนื้อหา (Content-focused texts) 2. การแปลตัวบทเน้นรูปแบบวัจนลีลา (Form-focused texts) 3. การแปลตัวบทเน้นปฏิกิริยาตอบสนอง (Appeal-focused texts) |
18 |
|
1) นักศึกษาเข้าฟังคลิปภาคทฤษฏี 3 หัวข้อตามการแปลตัวบท และศึกษาเอกสารประกอบการสอนตอนที่ 2 (ไฟล์ pdf) 2) ทำแบบฝึกหัดแปลท้ายบทเน้นตัวบทประเภทต่าง ๆ ส่งงานผ่าน KKU e-Learning 3) จับคู่และให้แก้ไขข้อผิดพลาดในการแปลพร้อมให้ข้อเสนอแนะกับเพื่อนในการพัฒนางานแปล (online) 4) ปรับบทแปลให้เป็นบทแปลที่ถูกต้องและเหมาะสม ส่งงานใน หัวข้อที่ 2 ใน KKU e-Learning 5) ทุกอาทิตย์พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ หลักการแปลการภาษาอังกฤษโดยอิงตัวบทปัญหาการแปลและการแก้ไขงานแปล รวมถึงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการแปลในแบบฝึกหัดแปล |
|
16 | ลักษณะและปัญหาของการแปล การแก้ไขข้อบกพร่อง | 3 |
|
1) นักศึกษาศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอนเรื่องลักษณะและปัญหาของการแปล และการแก้ไขข้อบกพร่องในการแปล 2) ในชั้นเรียนผ่านโปรแกรม Zoom นักศึกษาอภิปรายลักษณะและปัญหาของการแปล และการแก้ไขข้อบกพร่องในการแปล 3) นักศึกษาฝึกแก้ไขบทแปลในแบบฝึกหัดท้ายบท และอภิปรายร่วมกัน 4) นักศึกษาสรุปความรู้ทั้งสองประเด็นส่งใน KKU e-Learning |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 48 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าเรียนใน KKU e-Learning และการมีส่วนร่วมใน Discussion forum |
|
20 | |
แบบฝึกหัด 4 ชิ้น |
|
20 | ส่งสัปดาห์ที่ 5, 8, 11, 14 |
แบบฝึกหัดท้ายบทและงานสรุป |
|
20 | |
การผลิตโครงงานการแปล (งานกลุ่ม) |
|
20 | ส่งสัปดาห์สุดท้ายของการเรียนผ่านระบบ KKU e-Learning |
การสอบปลายภาค |
|
20 | Online Take home |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | อังคณา ทองพูน พัฒนศร สุขุม วสุนธราโภสิต สุธิดา โง่นคำ และศิรายุ โพธิวันนา. (2562). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา HS112401. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อัจฉรา ไล่ศัตรูไกล. (2554). จุดมุ่งหมาย หลักการและวิธีแปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สัญฉวี สายบัว. (2542). หลักการแปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | ||
YouTube | หัวข้อ Translation Techniques (https://youtu.be/HKkHL03ZNwQ) | ||
e-Learning | หัวข้อ Translation problems and solutions (https://youtu.be/EfjwKPIx480) | ||
YouTube | หัวข้อ Cultural Translation (https://youtu.be/_7PnoxLiw0k) | ||
YouTube | หัวข้อ Method for assessing translation quality (https://youtu.be/MdGbdi0UDAo) |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 1.5 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 3.4 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก
2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน
3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้
4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ