Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS613309
ภาษาไทย
Thai name
การแต่งคำประพันธ์และอ่านทำนอง
ภาษาอังกฤษ
English name
Poetry Writing and Rhythmic Recitation
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
ไม่มี
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิศเรศ ดลเพ็ญ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิศเรศ ดลเพ็ญ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • มีความรู้และเข้าใจลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำสียงของการอ่านทำนองประเภทต่างๆ
    • สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษาสามารถเลือกปฏิบัติสิ่งที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
    • นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    ทักษะ
    Skills
    • มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย พัฒนาการ ประเภท ลักษณะ หลักและกลวิธีการแต่งคำประพันธ์ร้อยกรองประเภทต่าง ๆ ลักษณะเฉพาะของการอ่านทำนอง ลีลาและน้ำเสียงในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Meaning, development, types, characteristics, principles and writing strategies for different types of Thai poems; unique characteristics of Thai rhythmic poetry recitation; styles and tones in the recitation of different kinds of Thai rhythmic poetry
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Task-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกวีนิพนธ์ไทย
    - ความหมายและประเภทของกวีนิพนธ์
    - กำเนิดและวิวัฒนาการของร้อยกรอง
    - ลักษณะบังคับและเสียงเสนาะในกวีนิพนธ์
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • E1: นักศึกษาสามารถเลือกปฏิบัติสิ่งที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    บรรยาย เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกวันิพนธ์ไทย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกวีนิพนธ์ (ต่อ)
    - สุนทรียรสในกวีนิพนธ์
    - รสวรรณคดีไทย
    - รสวรรณคดีสันสกฤต
    - ภาพพจน์ในกวีนิพนธ์
    - ขนบและนวลักษณ์ในงานกวีนิพนธ์ร่วมสมัย
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • E1: นักศึกษาสามารถเลือกปฏิบัติสิ่งที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    บรรยาย เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกวีนิพนธ์ (ต่อ)
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    3 ลักษณะเฉพาะของการอ่านทำนอง
    - ความหมายของการอ่านทำนอง
    - วิธีอ่านคำร้อยกรอง
    - น้ำเสียงในการอ่านทำนอง
    - เสาวรจนีย์
    - นารีปราโมทย์
    - พิโรธวาทัง
    - สัลลาปังควิสัย
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    บรรยาย เรื่องลักษณะเฉพาะของการอ่านทำนอง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    4 ร่าย
    - ความหมายของร่าย
    - กำเนิดและวิวัฒนาการของร่าย
    - ประเภทของร่าย
    - ลักษณะคำประพันธ์ของร่าย
    - เทคนิคและกลวิธีการแต่งร่าย
    -สุนทรียรสของร่าย
    - วรรณคดีและวรรณกรรมที่แต่งด้วยร่าย
    - ลีลาในการอ่านทำนองประเภทร่าย
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S7: มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษาสามารถเลือกปฏิบัติสิ่งที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • C2: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    บรรยาย เรื่องร่าย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    สาธิต
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    5 โคลง
    - ความหมายของโคลง
    - กำเนิดและวิวัฒนาการของโคลง
    - ประเภทของโคลง
    - ลักษณะคำประพันธ์ของโคลง
    - เทคนิคและกลวิธีการแต่งโคลง
    -สุนทรียรสของโคลง
    - วรรณคดีและวรรณกรรมที่แต่งด้วยโคลง
    - ลีลาในการอ่านทำนองประเภทโคลง
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S6: มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษาสามารถเลือกปฏิบัติสิ่งที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    บรรยาย เรื่องโคลง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    สาธิต
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    6 กาพย์
    - ความหมายของกาพย์
    - กำเนิดและวิวัฒนาการของกาพย์
    - ประเภทของกาพย์
    - ลักษณะคำประพันธ์ของกาพย์
    - เทคนิคและกลวิธีการแต่งกาพ์
    -สุนทรียรสของกาพย์
    - วรรณคดีและวรรณกรรมที่แต่งด้วยกาพย์
    - ลีลาในการอ่านทำนองประเภทกาพย์
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S6: มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษาสามารถเลือกปฏิบัติสิ่งที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • C2: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่องกาพย์
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    สาธิต
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    7 ฉันท์
    - ความหมายของฉันท์
    - กำเนิดและวิวัฒนาการของฉันท์
    - ประเภทของฉันท์
    - ลักษณะคำประพันธ์ของฉันท์
    - เทคนิคและกลวิธีการแต่งฉันท์
    -สุนทรียรสของฉันท์
    - วรรณคดีและวรรณกรรมที่แต่งคำฉันท์
    - ลีลาในการอ่านทำนองประเภทฉันท์
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S6: มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S7: มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • C2: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    บรรยาย เรื่องฉันท์
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    สาธิต
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    8 กลอน
    - ความหมายของกลอน
    - กำเนิดและวิวัฒนาการของกลอน
    - ประเภทของกลอน
    - ลักษณะคำประพันธ์ของกลอน
    - เทคนิคและกลวิธีการแต่งกลอน
    -สุนทรียรสของกลอน
    - วรรณคดีและวรรณกรรมที่แต่งด้วยกลอน
    - ลีลาในการอ่านทำนองประเภทกลอน
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S6: มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S7: มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • C2: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C4: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    บรรยาย เรื่องกลอน
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    สาธิต
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    9 การอ่านทำนองหลวง
    - ความเป็นมา
    - ลักษณะของการอ่านทำนองหลวง
    - ลีลาการอ่าน
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S6: มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S7: มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษาสามารถเลือกปฏิบัติสิ่งที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • C2: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C4: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    บรรยาย เรื่องการอ่านทำนองหลวง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    สาธิต
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    ทำแบบทดสอบ
    10 การอ่านทำนองพราหมณ์
    - ความเป็นมา
    - ลักษณะของการอ่านทำนองพราหมณ์
    - ลีลาการอ่าน
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S7: มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • C2: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    บรรยาย เรื่องการอ่านทำนองพราหมณ์
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    YouTube
    ในห้องเรียน
    11 การอ่านทำนองนักเรียน
    - ความเป็นมา
    - ลักษณะของการอ่านทำนองนักเรียน
    - ลีลาการอ่าน
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S6: มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S7: มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษาสามารถเลือกปฏิบัติสิ่งที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • C2: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C4: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    บรรยาย เรื่องการอ่านทำนองนักเรียน
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    12 การอ่านทำนองชาวบ้าน
    - ความเป็นมา
    - ลักษณะของการอ่านทำนองชาวบ้าน
    - ลีลาการอ่าน
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S6: มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S7: มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • C2: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C4: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    บรรยาย เรื่องการอ่านทำนองชาวบ้าน
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    13 ทำนองพื้นถิ่น
    - ความเป็นมา
    - ลักษณะของการอ่านทำนองพื้นถิ่น
    - ลีลาการอ่าน
    3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S6: มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S7: มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C1: ตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสืบสานการอ่านทำนองไทย
    • C2: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C4: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    บรรยาย เรื่องทำนองพื้นถิ่น
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    ในห้องเรียน
    ทำแบบทดสอบ
    14-15 การนำเสนอผลการค้นคว้าของนักศึกษา 6
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S6: มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S7: มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    • C2: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C4: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    นำเสนอผลการค้นคว้า
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ในห้องเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • E1: นักศึกษาสามารถเลือกปฏิบัติสิ่งที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    10
    งานเดี่ยว
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S6: มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S7: มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษาสามารถเลือกปฏิบัติสิ่งที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    30
    งานกลุ่ม
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • K5: สามารถอ่านทำนองประเภทต่างๆ ได้
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • S5: มีทักษะในการอ่านทำนองประเภทต่าง ๆ
    • S6: มีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S7: มีทักษะในการวางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษาสามารถเลือกปฏิบัติสิ่งที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E3: นักศึกษาไม่แอบบอ้างและคัดลอกผลงานวิชาการของผู้อื่นเป็นของตน
    20
    สอบกลางภาค
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    20
    สอบปลายภาค
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลักและการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • K2: มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์
    • K3: สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษาไทยแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S1: มีทักษะในการอธิบายลักษณะ องค์ประกอบ วิวัฒนาการ ประเภท หลัก และการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่าง ๆ
    • S2: มีทักษะในการใช้ภาษาวรรณศิลป์ในการแต่งกวีนิพนธ์ได้
    • S3: มีทักษะในการแต่งกวีนิพนธ์ไทยได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
    • S4: มีทักษะในการอธิบายลักษณะเฉพาะ ลีลาและน้ำเสียงของการอ่านทำนองต่าง ๆ
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางวิชาการ
    20
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา กรมศิลปากร. (2544). ครรภครรลองร้อยกรองไทย. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา
    กีรติ ธนะไชย. (2551). บุหงาหอมร่วงฟ้าในป่าแก้ว: ฉันทลักษณ์จาก “วรรณคดี” ถึง “กวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่”.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา
    คมทวน คันธนู. (2545). วรรณวิเคราะห์ตำนานฉันทลักษณ์กับหลักการใหม่. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา

    ตรีศิลป์ บุญขจร. (2547). วรรณกรรมประเภทกลอนสวดภาคกลาง : การศึกษาเชิงวิเคราะห์. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา
    ธเนศ เวศร์ธาดา. (2549). หอมโลกวรรณศิลป์. กรุงเทพฯ: ปาเจรา.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา

    พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์ (สมาน กลฺยณธมฺโม / พรหมอยู่). (2551). พระพิธีธรรม การสวดทำนองหลวง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา
    วัฒนะ บุญจับ, เรียบเรียง . (2543). การอ่านทำนองร้อยกรองไทย : ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคอีสาน. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. สมปอง พรหมเปี่ยม. (2536). ทำนองเสนาะ : ทางสู่สุนทรียภาพ. กรุงเทพฯ : คีตวรรณกรรม.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา
    วีรวัฒน์ อินทรพร. (2548). สุนทรียภาพของโคลงในวรรณคดีไทย : การสร้างสรรค์วรรณศิลป์จากธรรมชาติของ ภาษาไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
    1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
    2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
    2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
    2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
    3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
    3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
    3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
    5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
    5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
    5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ