Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS611104
ภาษาไทย
Thai name
วรรณกรรมศึกษา
ภาษาอังกฤษ
English name
LITERARY STUDIES
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์แก้วตา จันทรานุสรณ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์แก้วตา จันทรานุสรณ์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์มารศรี สอทิพย์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • เพื่อให้สามารถศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • มีความซื่อสัตย์และความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคลและสหบท
    ทักษะ
    Skills
    • เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • ประยุกต์ใช้แนวทางการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสหบท
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    • มีความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสามารถพิจารณาความเชื่อมโยงของตัวบทวรรณกรรมอันหลากหลาย
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    แนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท วรรณกรรมคัดสรร
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Literary studies in Thailand with emphasis on selected literary works from different periods; selected literary works categorized by genres, authors, and intertextuality
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Problem-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรม
    - ความหมายวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณศิลป์
    - กำเนิดของวรรณกรรม
    - การแบ่งยุคสมัยของวรรณกรรม
    3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    สื่อสารข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรม ความหมาย กำเนิด การแบ่งยุคสมัย ในรูปเอกสารสรุปความรู้ และ PowerPoint ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรม
    (ต่อ)
    - ประเภทของวรรณกรรม
    - คุณค่าและหน้าที่ของวรรณกรรม
    3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    สื่อสารข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประเภทของวรรณกรรม คุณค่าและหน้าที่ของวรรณกรรมในรูปเอกสารสรุปความรู้ และ PowerPoint ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    3 องค์ประกอบของวรรณกรรม
    - รูปแบบคำประพันธ์
    - เนื้อหา
    - การใช้ภาษา
    3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    สื่อสารข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์ประกอบของวรรณกรรม ในรูปเอกสารสรุปความรู้ด้านรูปแบบ เนื้อหา การใช้ภาษา และ PowerPoint ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊ก ละบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    4 การศึกษาวรรณกรรมในแง่กลการประพันธ์
    - วัตถุดิบ (material)
    - แนวเรื่อง (theme)
    - พล็อต (plot)
    3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    สื่อสารข้อมูลการศึกษาวรรณกรรมในแง่กลการประพันธ์ ในรูปเอกสารสรุปความรู้ด้านวัตถุดิบ แนวเรื่อง โครงเรื่อง และ PowerPoint ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    5 การศึกษาวรรณกรรมในแง่กลการประพันธ์ (ต่อ)
    - การสร้างตัวละคร (characterization)
    - การสร้างฉาก (setting)
    - วิธีการเสนอผลงาน (presentation)
    3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    สื่อสารข้อมูลการศึกษาวรรณกรรมในแง่กลการประพันธ์ ในรูปเอกสารสรุปความรู้เกี่ยวกับการสร้างตัวละคร การสร้างฉาก วิธีการนำเสนอ และ PowerPoint ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    6 การศึกษาวรรณกรรมในแง่วรรณศิลป์
    - การใช้คำ สำนวน
    - การใช้น้ำเสียง
    - การใช้โวหารภาพพจน์
    3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    สื่อสารข้อมูลการศึกษาวรรณกรรมในแง่วรรณศิลป์ ในรูปเอกสารสรุปความรู้ เกี่ยวกับการใช้คำ สำนวน การใช้น้ำเสียง การใช้โวหารภาพพจน์ และ PowerPoint ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    7 การศึกษาวรรณกรรมในแง่วรรณศิลป์
    - รสวรรณคดีไทย
    - รสวรรณคดีสันสกฤต
    - อลังการศาสตร์
    3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    สื่อสารข้อมูลการศึกษาวรรณกรรมในแง่วรรณศิลป์ ในรูปเอกสารสรุปความรู้เกี่ยวกับ รสวรรณคดีไทย รสวรรณคดีสันสกฤต อลังการศาสตร์ และ PowerPoint ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point

    9 การศึกษาวรรณกรรมแนวต่าง ๆ
    - แนวชีวประวัติ
    - แนวจิตวิทยา
    3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    สื่อสารข้อมูลแนวการศึกษาวรรณกรรม ในรูปเอกสารสรุปความรู้ เกี่ยวกับแนวชีวประวัติ แนวจิตวิทยา และ PowerPoint ผ่านกลุ่ม เฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    10 การศึกษาวรรณกรรมแนวต่าง ๆ
    - แนวคิดสังคมวิทยาวรรณกรรมและแนวทางการศึกษาวรรณกรรมเชิงสังคม
    - แนวคิดสหบทและแนวทางสหบทศึกษา
    3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    สื่อสารข้อมูลแนวการศึกษาวรรณกรรม ในรูปเอกสารสรุปความรู้ เกี่ยวกับแนวคิดสังคมวิทยาวรรณกรรมและแนวทางการศึกษาวรรณกรรมเชิงสังคมวิทยา แนวคิดสหบทและแนวทางสหบทศึกษา และ PowerPoint ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    11 การศึกษาวรรณกรรมรายประเภท : บันเทิงคดี
    3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    สื่อสารข้อมูลแนวการศึกษาวรรณกรรมรายประเภท ในรูปเอกสารสรุปความรู้ เกี่ยวกับงานเขียนบันเทิงคดี และ power point ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    12 การศึกษาวรรณกรรมรายประเภท : สารคดี 3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • K3: เพื่อให้สามารถศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • S3: ประยุกต์ใช้แนวทางการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E3: มีความซื่อสัตย์และความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    • C3: มีความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสามารถพิจารณาความเชื่อมโยงของตัวบทวรรณกรรมอันหลากหลาย
    สื่อสารข้อมูลแนวการศึกษาวรรณกรรม ในรูปเอกสารสรุปความรู้ เกี่ยวกับแนวชีวประวัติ แนวจิตวิทยา และ PowerPoint ผ่านกลุ่ม เฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    13 การศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย 3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • K3: เพื่อให้สามารถศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • S3: ประยุกต์ใช้แนวทางการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E3: มีความซื่อสัตย์และความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    • C3: มีความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสามารถพิจารณาความเชื่อมโยงของตัวบทวรรณกรรมอันหลากหลาย
    สื่อสารข้อมูลแนวการศึกษาวรรณกรรม ในรูปเอกสารสรุปความรู้ เกี่ยวกับวรรณกรรมต่างยุคสมัย และ PowerPoint ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    14 การศึกษาวรรณกรรมรายบุคคล 3
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • K3: เพื่อให้สามารถศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • S3: ประยุกต์ใช้แนวทางการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E3: มีความซื่อสัตย์และความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    • C3: มีความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสามารถพิจารณาความเชื่อมโยงของตัวบทวรรณกรรมอันหลากหลาย
    สื่อสารข้อมูลแนวการศึกษาวรรณกรรม ในรูปเอกสารสรุปความรู้ เกี่ยวกับวรรณกรรมรายบุคคล และ PowerPoint ผ่านกลุ่มเฟซบุ๊กและบรรยายผ่านช่องทางกลุ่มไลน์

    สื่อการสอน
    - Power Point
    15-16 การนำเสนอผลงานวิเคราะห์วรรณกรรมของนักศึกษา 6
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • K3: เพื่อให้สามารถศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • S3: ประยุกต์ใช้แนวทางการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E3: มีความซื่อสัตย์และความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    • C3: มีความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสามารถพิจารณาความเชื่อมโยงของตัวบทวรรณกรรมอันหลากหลาย
    นำแนวทางการเข้าถึงวรรณกรรมที่สนใจมาเป็นเครื่องมือศึกษาตัวบทวรรณกรรมพร้อมนำเสนอในรูปบทวิจารณ์ และนำเสนอผลงานผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก

    สื่อการสอน
    - Power Point
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    บทวิจารณ์วรรณกรรม
    งานเดี่ยว
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    15
    สอบกลางภาค ทดสอบย่อย (อัตนัย)
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    35
    รายงานการศึกษาวรรณกรรม
    งานเดี่ยว
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • K3: เพื่อให้สามารถศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • S3: ประยุกต์ใช้แนวทางการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E3: มีความซื่อสัตย์และความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    • C3: มีความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสามารถพิจารณาความเชื่อมโยงของตัวบทวรรณกรรมอันหลากหลาย
    15
    สอบปลายภาค ทดสอบย่อย (อัตนัย)
    งานเดี่ยว
    • K1: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • K2: เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคล และสหบท
    • K3: เพื่อให้สามารถศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
    • S1: เกิดทักษะในการเข้าถึงความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย
    • S2: มีความสามารถในการจำแนกวรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • S3: ประยุกต์ใช้แนวทางการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสหบท
    • E1: มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาวรรณกรรม
    • E2: มีความเคารพต่อขนบธรรมเนียบแบบแผนของการสร้างสรรค์วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภท รายบุคคลและสหบท
    • E3: มีความซื่อสัตย์และความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคลและสหบท
    • C1: มีความกระตือรือร้นต่อการเข้าถึงความหมายของตัวบทวรรณกรรม และเห็นความสำคัญของแนวทางอันหลากหลายในการสร้างและเสพวรรณกรรม
    • C2: มีความรู้ในการจำแนกประเภทวรรณกรรมอันหลากหลาย ทั้งต่างยุคสมัย ต่างประเภท เฉพาะบุคคลและความสัมพันธ์เชิงสหบท
    • C3: มีความประณีตในการเข้าถึงความหมายของตัวบทหลากยุคสมัย หลากประเภท เฉพาะบุคคล และสามารถพิจารณาความเชื่อมโยงของตัวบทวรรณกรรมอันหลากหลาย
    35
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา กุสุมา รักษมณี. การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. รายงานการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2530.
    หนังสือ หรือ ตำรา ดวงมน จิตร์จำนงค์ และคณะ. ทอไหมในสายน้ำ 200 ปี วรรณคดีวิจารณ์ไทย. กรุงเทพฯ: พลพันธ์การพิมพ์, 2532.
    หนังสือ หรือ ตำรา เจตนา นาควัชระ. ทฤษฎีเบื้องต้นแห่งวรรณคดี. กรุงเทพฯ: ศยาม, 2542.
    หนังสือ หรือ ตำรา __________. ทางไปสู่วัฒนธรรมแห่งการวิจารณ์. กรุงเทพฯ: ดวงกมล, 2524.
    หนังสือ หรือ ตำรา __________.ทางอันไม่รู้จบของวัฒนธรรมแห่งการวิจารณ์. กรุงเทพฯ: เทียนวรรณ 2530.
    หนังสือ หรือ ตำรา ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์. เชิงอรรถวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: มติชน, 2539.
    หนังสือ หรือ ตำรา ______________. อ่าน(ไม่)เอาเรื่อง. กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2545.
    หนังสือ หรือ ตำรา ธเนศ เวศร์ภาดา. หอมโลกวรรณศิลป์. กรุงเทพฯ: ปาเจรา, 2550.
    หนังสือ หรือ ตำรา บุญเหลือ เทพยสุวรรณ. วิเคราะห์รสวรรณคดีไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ศยาม, 2543.
    หนังสือ หรือ ตำรา วิทย์ ศิวะศริยานนท์. วรรณคดีและวรรณคดีวิจารณ์. พระนคร: กรุงเทพการพิมพ์, 2504.
    หนังสือ หรือ ตำรา รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. พลังการวิจารณ์: วรรณศิลป์. กรุงเทพฯ: ประพันธ์สาส์น, 2547.
    หนังสือ หรือ ตำรา เสนาะ เจริญพร. ผู้หญิงกับสังคมในวรรณกรรมไทยยุคฟองสบู่. กรุงเทพฯ: มติชน, 2548.
    หนังสือ หรือ ตำรา อิราวดี ไตลังคะ. ศาสตร์และศิลป์แห่งการเล่าเรื่อง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2549.
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
    1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
    2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
    2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
    2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
    3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
    3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
    3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
    5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
    5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
    5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ