Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
English
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS112402
ภาษาไทย
Thai name
การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
English name
THAI TO ENGLISH TRANSLATION
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง 2556)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุขุม วสุนธราโศภิต
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • รองศาสตราจารย์อังคณา ทองพูน พัฒนศร
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุขุม วสุนธราโศภิต
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธิดา โง่นคำ
  • อาจารย์ศิรายุ โพธิ์วันนา
  • อาจารย์นวลจันทร์ ประดุจชนม์
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • แยกความแตกต่างของวัฒนธรรมภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
  • ใช้คำศัพท์ภาษากฤษในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
  • แก้ไขข้อผิดที่พบในปัญหาของการแปลได้
จริยธรรม
Ethics
  • ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
  • ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
ทักษะ
Skills
  • แปลระดับคำ วลี ประโยค และย่อหน้า จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • แปลงานเขียนร้อยแก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • แปลแบบตีความจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
ลักษณะบุคคล
Character
  • ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการแปลได้
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
ความแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ ความแตกต่างของวัฒนธรรม การแปลระดับคำ วลี ประโยค ย่อหน้า การแปลงานเขียนร้อยแก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร สิ่งพิมพ์อื่น ๆ จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ การใช้เทคโลโลยีดิจิทัลและสารสนเทศในการแปล
ภาษาอังกฤษ
English
Differences between Thai and English, differences of cultures, translation of words, phrases, sentences, paragraphs, Thai to English translation of selected prose from newspapers, magazines, other publication sources, use of digital and information technology in translation
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Classroom-based learning
  • Blended learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Content and language integrated learning
  • Task-based learning
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 1. แนะนำวัตถุประสงค์เนื้อหา วิธีประเมินผล
2. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับงานแปล
(Basic Concepts in Translation)
3
  • K1: แยกความแตกต่างของวัฒนธรรมภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
  • E1: ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
กิจกรรม
(1) อธิบายจุดประสงค์การเรียนรู้
(2) การสอนบรรยายประกอบกิจกรรมเพื่อละลายพฤติกรรมนักศึกษา
(3) การสอนบรรยาย
(4) อภิปรายกลุ่ม
(5) การฝึกแปลจากแบบฝึกหัด
สื่อ
1. ประมวลรายวิชา
2. สไลด์ประกอบการสอน
3. หนังสือเรียน
4. เอกสารประกอบการบรรยาย
2-3 กระบวนการแปล (Process of Translating)
6
  • K1: แยกความแตกต่างของวัฒนธรรมภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
  • E1: ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E3: ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
  • C1: ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการแปลได้
กิจกรรม
(1) การสอนบรรยาย
(2) อภิปรายกลุ่ม
(3) การฝึกแปลจากแบบฝึกหัด
(3) มอบหมายแบบฝึกหัด
สื่อ
1. สไลด์ประกอบการสอน
2. หนังสือเรียนหรือเอกสารประกอบการบรรยาย
4-5 กลวิธีในการแปล (Translating Strategies) 6
  • K2: ใช้คำศัพท์ภาษากฤษในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
  • K3: แก้ไขข้อผิดที่พบในปัญหาของการแปลได้
  • E1: ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E3: ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
  • C1: ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการแปลได้
กิจกรรม
(1) การสอนบรรยาย
(2) อภิปรายกลุ่ม
(3) การฝึกแปลจากแบบฝึกหัดโดยให้ทำเป็นงานเดี่ยวหรืองานคู่
สื่อ
1. สไลด์ประกอบการสอน
2. หนังสือเรียนหรือเอกสารประกอบการบรรยาย
6 ภาษา วัฒนธรรมกับการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ 3
  • K1: แยกความแตกต่างของวัฒนธรรมภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
  • K3: แก้ไขข้อผิดที่พบในปัญหาของการแปลได้
  • E1: ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E3: ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
  • C1: ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการแปลได้
กิจกรรม
(1) การสอนบรรยาย
(2) ทำแบบฝึกหัดฝึกการแปลที่มีวัฒนธรรมเป็นองค์ประกอบ
(3) มอบหมายแบบฝึกหัดที่ 2
สื่อ
1. สไลด์ประกอบการสอน
2. หนังสือเรียนหรือเอกสารประกอบการบรรยาย
7-8 การแปลงานเขียนเชิงพรรณนาความ (Descriptive Genre) 6
  • K1: แยกความแตกต่างของวัฒนธรรมภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
  • K2: ใช้คำศัพท์ภาษากฤษในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
  • S1: แปลระดับคำ วลี ประโยค และย่อหน้า จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S2: แปลงานเขียนร้อยแก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S3: แปลแบบตีความจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • E1: ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
  • E3: ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
  • C1: ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการแปลได้
กิจกรรม
(1) ให้ตัวอย่างงานเขียนเชิงพรรณนาความ
(2) อธิบายคุณลักษณะของงานเขียนเชิงพรรณนาความ
(3) ให้นักศึกษาฝึกการแปลงานเขียนเชิงพรรณนาความ จากแบบฝึกหัดเป็นภาษาอังกฤษ
(3) มอบหมายโครงงานแปลโดยให้นักศึกษาเลือกเนื้อหาที่สนใจจากสื่อต่างๆ รวมถึงจากแหล่งเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อ
1. สไลด์ประกอบการสอน
2. หนังสือเรียนหรือเอกสารประกอบการบรรยาย
3. เว็บไซต์ต่างๆ
9-11 การแปลงานเขียนเล่าเหตุการณ์ (Narrative Genre) 9
  • K1: แยกความแตกต่างของวัฒนธรรมภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
  • K2: ใช้คำศัพท์ภาษากฤษในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
  • K3: แก้ไขข้อผิดที่พบในปัญหาของการแปลได้
  • S1: แปลระดับคำ วลี ประโยค และย่อหน้า จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S2: แปลงานเขียนร้อยแก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S3: แปลแบบตีความจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • E1: ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
กิจกรรม
(1) ให้ตัวอย่างงานเขียนเล่าเหตุการณ์
(2) อธิบายคุณลักษณะของงานเขียนเล่าเหตุการณ์
(3) ให้นักศึกษาฝึกการแปลงานเขียนเล่าเหตุการณ์จากแบบฝึกหัดเป็นภาษาอังกฤษ
(4) มอบหมายแบบฝึกหัดที่ 3
สื่อ
1. สไลด์ประกอบการสอน
2. หนังสือเรียนหรือเอกสารประกอบการบรรยาย
3. ผลงานแปลของนักศึกษาเพื่อนำเสนองานเดี่ยว
12-13 การแปลงานเขียนเชิงอธิบายความ (Expository Genre) 6
  • K2: ใช้คำศัพท์ภาษากฤษในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
  • S1: แปลระดับคำ วลี ประโยค และย่อหน้า จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S2: แปลงานเขียนร้อยแก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S3: แปลแบบตีความจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • E1: ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
  • E3: ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
  • C1: ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการแปลได้
กิจกรรม
(1) ให้ตัวอย่างงานเขียนเชิงอธิบายความ
(2)อธิบายคุณลักษณะของงานเขียนเชิงอธิบายความ
(3) ให้นักศึกษาฝึกการแปลงานเขียนเชิงอธิบายความจากแบบฝึกหัดเป็นภาษาอังกฤษ
สื่อ
1. สไลด์ประกอบการสอน
2. หนังสือเรียนหรือเอกสารประกอบการบรรยาย
(3) ผลงานแปลของนักศึกษาเพื่อนำเสนองานเดี่ยว
14-15 การแปลงานเขียนเชิงจูงใจ (Persuasive Genre) 6
  • K1: แยกความแตกต่างของวัฒนธรรมภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
  • K2: ใช้คำศัพท์ภาษากฤษในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
  • K3: แก้ไขข้อผิดที่พบในปัญหาของการแปลได้
  • S1: แปลระดับคำ วลี ประโยค และย่อหน้า จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S2: แปลงานเขียนร้อยแก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S3: แปลแบบตีความจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • E1: ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
  • E3: ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
  • C1: ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการแปลได้
กิจกรรม
(1) ให้ตัวอย่างงานเขียนเชิงจูงใจ
(2) อธิบายคุณลักษณะของงานเขียนเชิงจูงใจ
(3) ให้นักศึกษาฝึกการแปลงานเขียนเชิงจูงใจ จากแบบฝึกหัดเป็นภาษาอังกฤษ
(4) มอบหมายแบบฝึกหัดที่ 4
สื่อ
1. สไลด์ประกอบการสอน
2. หนังสือเรียนหรือเอกสารประกอบการบรรยาย
(3) ผลงานแปลจากครงงานของนักศึกษาเพื่อนำเสนองานเดี่ยว
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
การเข้าชั้นเรียน
  • E1: ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
5 สัปดาห์ที่ประเมิน 1-15
แบบฝึกหัด 4 ชิ้น (งานเดี่ยว)
  • K1: แยกความแตกต่างของวัฒนธรรมภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
  • K2: ใช้คำศัพท์ภาษากฤษในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
  • K3: แก้ไขข้อผิดที่พบในปัญหาของการแปลได้
  • S1: แปลระดับคำ วลี ประโยค และย่อหน้า จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S2: แปลงานเขียนร้อยแก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S3: แปลแบบตีความจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • E1: ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
  • C1: ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการแปลได้
20 สัปดาห์ที่ประเมิน 4, 7, 12 และ 15
การผลิตโครงงานการแปล (งานกลุ่ม)
  • K1: แยกความแตกต่างของวัฒนธรรมภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้
  • K2: ใช้คำศัพท์ภาษากฤษในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
  • K3: แก้ไขข้อผิดที่พบในปัญหาของการแปลได้
  • S1: แปลระดับคำ วลี ประโยค และย่อหน้า จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S2: แปลงานเขียนร้อยแก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S3: แปลแบบตีความจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • E1: ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
  • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
  • E3: ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
25 สัปดาห์ที่ประเมิน 15
การสอบกลางภาค
  • K2: ใช้คำศัพท์ภาษากฤษในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
  • S1: แปลระดับคำ วลี ประโยค และย่อหน้า จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S2: แปลงานเขียนร้อยแก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S3: แปลแบบตีความจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
25 สัปดาห์ที่ประเมิน 9
นักศึกษาต้องเข้าเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 จึงจะมีสิทธิ์สอบ
การสอบปลายภาค
  • K2: ใช้คำศัพท์ภาษากฤษในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
  • S1: แปลระดับคำ วลี ประโยค และย่อหน้า จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S2: แปลงานเขียนร้อยแก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • S3: แปลแบบตีความจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
  • E2: ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น
25 สัปดาห์ที่ประเมิน 17
นักศึกษาต้องเข้าเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 จึงจะมีสิทธิ์สอบ
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
หนังสือ หรือ ตำรา เอกสารประกอบการสอนวิชา 411 342 การแปลไทยเป็นอังกฤษ (ภารดี ตั้งแต่ง, 2015)
หนังสือ หรือ ตำรา Monday, Jeremy, Introducing Translation Studies: Theories and Application (London and New York: Routledge, 2001)
หนังสือ หรือ ตำรา Venuti, Lawrence (ed.), The Translation Studies Reader (London and New York: Routledge, 2000)
หนังสือ หรือ ตำรา พิมพันธุ์ เวสสะโกศล. การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2558.
หนังสือ หรือ ตำรา สุพรรณี ปิ่นมณี ภาษา วัฒนธรรม กับการแปล : ไทย – อังกฤษ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562
หนังสือ หรือ ตำรา สุพรรณี ปิ่นมณี. การแปลขั้นสูง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
หนังสือ หรือ ตำรา สุพรรณี ปิ่นมณี. แปลได้แปลดี. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.
หนังสือ หรือ ตำรา สุพรรณี ปิ่นมณี. แปลผิดแปลถูก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
หนังสือ หรือ ตำรา สัญฉวี สายบัว. หลักการแปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540.
หนังสือ หรือ ตำรา สิทธา พินิจภูวดล. คู่มือนักแปลอาชีพ. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์, 2543.
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Bassnet, Susan, Translation Studies (London and New York: Routledge, 2002)
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 4.4

รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (Knowledge)
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
1.2 มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย รวมถึงการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
1.3 มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเพื่อ การสื่อสาร แสวงหาความรู้ และค้นคว้าวิจัย
1.4 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษที่ใช้ในบริบทสังคมโลก
1.5 มีความรอบรู้เท่าทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันของประเทศและของโลก

2. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skills)
2.1 มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน ในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.2 สามารถวางแผนการแสวงหาความรู้ ค้นคว้าวิจัย ทำโครงงาน หรือทำวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2.3 สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาในการเรียน การทำงาน และแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยประยุกต์ใช้สารสนเทศ ความรู้และประสบการณ์ของตนอย่างสร้างสรรค์
2.4 สามารถสร้างสรรค์ผลงานจากความรู้ที่เรียน

3. ผลการเรียนรู้ด้านจริยธรรม (Ethics)
3.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
3.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.3 มีจิตสาธารณะ ร่วมมือร่วมใจเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
3.4 มีความประพฤติดี มีมารยาทสังคม รับฟังผู้อื่นและสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้

4. ผลการเรียนรู้ด้านลักษณะบุคคล
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรอบคอบละเอียดถี่ถ้วน
4.2 เป็นผู้ที่ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม มีการสื่อสารที่ดี มีตรรกะ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความตระหนักถึงผู้ประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายและบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 ใฝ่รู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการศึกษา/วิชาชีพ