Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS402401
ภาษาไทย
Thai name
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางสังคมศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
English name
BASIC RESEARCH METHODOLOGY IN SOCIAL SCIENCES
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิรดี วงศ์ศิริ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิรดี วงศ์ศิริ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
    • นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ความหมายและความสำคัญของการวิจัย ปรัชญาและแนวคิดพื้นฐานทางสังคมศาสตร์ของการแสวงหาความรู้โดยการวิจัย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ การตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Meaning and significance of research, philosophy and basic concepts in social sciences in seeking knowledge through research, human research ethics, formulation of research questions, literature reviews, data collections, data validations, findings discussion, research conclusion, and research dissemination
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      • Online learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Task-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      การสอบกลางภาคเรียน ตามปฏิทินการศึกษา 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      การสอบกลางภาคเรียน
      1-2 - แนะนำขอบข่ายรายวิชาและการเรียนการสอน

      หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      1.1 ปรัชญาและแนวคิดพื้นฐานทางสังคมศาสตร์ของการแสวงหาความรู้โดยการวิจัย
      1.2 ความหมายและประเภทของการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      1.3 ความสำคัญของการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - ชี้แจงรายละเอียดขอบข่ายเนื้อหาวิชา และกระบวนการเรียนการสอน
      - นำเข้าสู่บทเรียน
      - สอนโดยวิธีบรรยาย
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาความรู้ของมนุษย์
      - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 1

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      (1) เอกสารขอบข่ายรายวิชาและกำหนดการเรียนการสอน
      (2) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
      (3) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 1 ในระบบ google classroom
      (4) ใบงานที่ 1 การทดสอบหลังเรียน
      3-4 หน่วยที่ 2 การตั้งคำถามการวิจัย
      2.1 ความหมายและลักษณะของคำถามการวิจัย
      2.2 ที่มาของคำถามการวิจัย
      2.3 ความสำคัญของคำถามการวิจัย

      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - นำเข้าสู่บทเรียน
      - สอนโดยวิธีบรรยาย
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดปัญหาการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 2

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 2 ในระบบ google classroom
      (3) ใบงานที่ 2 การวิเคราะห์ปัญหาการวิจัย และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
      5-6 หน่วยที่ 3 การทบทวนวรรณกรรมเพื่อพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      3.1 ความสำคัญของการทบทวนวรรณกรรมการวิจัย
      3.2 ชนิดของวรรณกรรมการวิจัย
      3.3 แหล่งที่มาของวรรณกรรมการวิจัย
      3.4 กระบวนการนิรนัยและอุปนัย
      3.5 การสังเคราะห์ตัวแปรจากการทบทวนวรรณกรรม
      3.6 การพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - นำเข้าสู่บทเรียน
      - สอนโดยวิธีบรรยาย
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความสำคัญของแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
      - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 3

      สื่อการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 3 ในระบบ google classroom
      (3) ใบงานที่ 3 การพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
      7-8 หน่วยที่ 4 การเก็บข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลการวิจัย
      4.1 ลักษณะของข้อมูลสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      4.2 กลุ่มเป้าหมาย ประชากร และกลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์
      4.3 วิธีการเก็บข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลในการวิจัยเชิงเชิงปริมาณ
      4.4 วิธีการเก็บข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ


      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - นำเข้าสู่บทเรียน
      - สอนโดยวิธีบรรยาย
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการเก็บข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลการวิจัย
      - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 4

      สื่อการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 4 ในระบบ google classroom
      (3) ใบงานที่ 4 การเก็บข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลการวิจัย และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
      9-10 หน่วยที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย
      5.1 ความสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย
      5.2 พื้นฐานการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณ
      5.3 พื้นฐานการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ
      5.4 การนำผลการวิเคราะห์ไปใช้ในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - นำเข้าสู่บทเรียน
      - สอนโดยวิธีบรรยาย
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่างของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพ
      - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 5

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 5 ในระบบ google classroom
      (3) ใบงานที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยจากกรณีศึกษา
      11-12 หน่วยที่ 6 การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
      6.1 ความสำคัญของการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
      6.2 เทคนิคการสรุปผลการวิจัย
      6.3 เทคนิคการเขียนอภิปรายผลการวิจัย
      6.4 การเสนอแนะจากผลการวิจัย
      6.5 การเขียนบรรณานุกรมในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์


      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - นำเข้าสู่บทเรียน
      - สอนโดยวิธีบรรยาย
      - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการนำผลการวิจัยไปใช้เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสังคม
      - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 6

      สื่อการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 6 ในระบบ google classroom
      (3) ใบงานที่ 6 การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย พร้อมนำเสนอหน้าชั้น)
      13 หน่วยที่ 7 การนำเสนอผลการวิจัย

      7.1 การเขียนรายงานการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      7.2 รูปแบบการนำเสนอผลการวิจัย

      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - นำเข้าสู่บทเรียน
      - สอนโดยวิธีบรรยาย
      - VDO การนำเสนองานวิจัย
      - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
      - นักศึกษาเขียนรายงานการวิจัย
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 7

      สื่อการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 7 ในระบบ google classroom
      (3) ใบงานที่ 7 รูปแบบการนำเสนอผลการวิจัย

      14 หน่วยที่ 8 จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
      8.1 ความเป็นมาของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
      8.2 ความสำคัญของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
      8.3 เกณฑ์จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - นำเข้าสู่บทเรียน
      - สอนโดยวิธีบรรยาย
      - VDO การนำเสนองานวิจัย
      - สรุปเนื้อหาและตอบข้อสงสัยของนักศึกษา
      - นักศึกษาเขียนรายงานการวิจัย
      - มอบหมายงานตามใบงานที่ 8

      สื่อการสอน
      (1) PowerPoint ประกอบการบรรยาย
      (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 8 ในระบบ KKU e-Learning/google classroom
      (3) ใบงานที่ 8 เกณฑ์จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
      15 การสอบปลายภาคเรียน 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • C1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      การสอบปลายภาคเรียน
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      ใบงานที่ 1-8 และกิจกรรมในชั้นเรียน
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • A1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      60 1 - 14
      การสอบกลางภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • A1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      20
      การสอบปลายภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทั้งทฤษฎีทางด้านปริมาณและคุณภาพ
      • K2: นักศึกษาเข้าใจปัญหาจริยธรรมในการวิจัย มีวินัย ความซื่อสัตย์ และความรับผิดชอบในวิชาชีพของการวิจัย
      • S1: นักศึกษามีทักษะพื้นฐานในการตั้งคำถามการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเก็บข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสรุปผลการวิจัย และการนำเสนอผลการวิจัย
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์การวิจัย สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      • S3: นักศึกษามีทักษะและสามารถใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ สำหรับการวิจัยได้
      • A1: นักศึกษาสามารถทำงานเป็นทีม และยอมรับฟังความเห็นที่แตกต่าง
      20
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์. (2560). การวิจัยเชิงปริมาณสำหรับงานพัฒนาสังคม. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      หนังสือ หรือ ตำรา Babbie, E. (2007). The Practice of Social Research. 10Th ed. California: Wadsworth Publishing Company.
      หนังสือ หรือ ตำรา สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สามลดา.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). สถิติสำหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. (2553). หลักการวิจัยทางสังคม. กรุงเทพมหานคร: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ์. (2555). การออกแบบการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 5.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2550). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ. ขอนแก่น : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม สินธะวา คามดิษฐ์ และคณะ. (2556). ระเบียบวิธีการวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม สุวิมล ติรกานันท์. (2549). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Bryman, A. (2001). Social Research Methods. Oxford: Oxford University Press.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Creswell, J.W. and Plano-Clark, V.L. (2007). Design and Conducting Mixed Methods Research. New York: SAGE.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Cunningham, G.K. (1986). Educational and Psychological Measurement. New York: Macmillan.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม De Vaus, D. (2001). Research Design in Social Research. London: SAGE Publication.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Gribich. (2007). Quantitative Data Analysis. California: SAGE Publication.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Neuman, W. L. (2004). Basic of Social Research: Qualitative and Quantitative Approaches. Boston: Pearson Education.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Robson, C. (2002). Real World Research. 2nd ed. Malden: Blackwell Publisher.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์. (2554). การสร้างเครือข่ายทางสังคมของนายหน้าแรงงานอีสาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์ และดุษฎี อายุวัฒน์. (2553). “การเลื่อนสถานภาพทางสังคมของนายหน้าแรงงานอีสาน”, วารสารประชากร, 1 (2) : มีนาคม 2553 : หน้า 55-71.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Dusadee Ayuwat and Thanapauge Chamaratana. (2013). “ The Role of Labour Broker Networks in Setting the Price of Working Abroad for Thai Migrant Workers”, Asia-Pacific Population Journal. Volume 28, Issue 2, 2013.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Maniemai Thongyou, Thanapauge Chamaratana, Monchai Phongsiri, and Bounthavy Sosamphanh. (2014). “Perception on Urbanization Impact on the Hinterland: A Study of Khon Kaen City, Thailand”, Asian Social Science. Volume 10, No. 11, 2014.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Maniemai Thongyou, Bounthavy Sosamphanh, Monchai Phongsiri, and Thanapauge Chamaratana. (2014). “Impact of the Urbanization of a Small Town on its Hinterlands: Perceptions of Households in the Hinterlands of Vang Vieng, Lao PDR”, EnvironmentAsia. Volume 7, No. 1, 2014.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ บทความวิจัยเชิงปริมาณในวารสารที่อยู่ในฐาน TCI และ Scopus เช่น
      - วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น
      - วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ของมหาวิทยาลัยนเรศวร
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ - วารสารจิตพฤติกรรมศาสตร์: ระบบพฤติกรรมไทย ของศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ - วารสารประชากรศาสตร์ ของวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ - วารสารวิจัยสังคม ของสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ - วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา ของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ - วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

      รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
      หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

      1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

      2. ด้านความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
      2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

      3. ด้านทักษะทางปัญญา
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

      4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้
      อย่างเหมาะสม

      5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ