Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS422110
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาอังกฤษสำหรับสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ภาษาอังกฤษ
English name
ENGLISH FOR SOCIOLOGY AND ANTHROPOLOGY
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
    • อาจารย์ภาณุ สุพพัตกุล
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    • อาจารย์ชีรา ทองกระจาย
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    การพัฒนาทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Skills development of English listening, speaking, reading and writing for study, research and occupation in Sociology and Anthropology
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Issue-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 แนะนำรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอน 3
    • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - การบรรยาย
    - การอภิปราย
    - กิจกรรมกลุ่ม

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - เอกสารแผนการสอน
    - PowerPoint
    - วิดีโอทาง YouTube
    - ใบงาน
    2-3 มนุษย์ เรือนร่าง และการประกอบสร้างอัตลักษณ์
    6
    • K1: สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • S2: มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • C3: เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - การบรรยาย
    - การอภิปราย
    - กิจกรรมกลุ่ม

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - PowerPoint
    - วิดีโอทาง YouTube
    - ใบงาน
    4-5 ทุนนิยมกับการพัฒนาเศรษฐกิจและรูปแบบของสถาบันทางเศรษฐกิจ
    6
    • K1: สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • S2: มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • C3: เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - การบรรยาย
    - การอภิปราย
    - กิจกรรมกลุ่ม

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - PowerPoint
    - วิดีโอทาง YouTube
    - ใบงาน
    6-7 วัฒนธรรมการบริโภคในกระแสโลกาภิวัตน์
    6
    • K1: สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • S2: มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • C3: เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - การบรรยาย
    - การอภิปราย
    - กิจกรรมกลุ่ม

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - เอกสารแผนการสอน
    - PowerPoint
    - วิดีโอทาง YouTube
    - ใบงาน
    8-9 หลังมนุษยนิยม (posthumanism) ความจริงเหนือจริง (hyperreality) และโลกความจริงเสมือน (virtual reality)
    6
    • K1: สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • S2: มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • C3: เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - การบรรยาย
    - การอภิปราย
    - กิจกรรมกลุ่ม

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - PowerPoint
    - วิดีโอทาง YouTube
    - ใบงาน
    10-11 ชุมชนและสังคมวิทยาว่าด้วยการเดินทางและการท่องเที่ยว
    6
    • K1: สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • S2: มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • C3: เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - การบรรยาย
    - การอภิปราย
    - กิจกรรมกลุ่ม

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - PowerPoint
    - วิดีโอทาง YouTube
    - ใบงาน
    12-13 เพศสภาพ (gender) กับการแต่งงานและการย้ายถิ่นข้ามชาติ (transnational marriage and migration) 6
    • K1: สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • S2: มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • C3: เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - การบรรยาย
    - การอภิปราย
    - กิจกรรมกลุ่ม

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - เอกสารแผนการสอน
    - PowerPoint
    - วิดีโอทาง YouTube
    - ใบงาน
    14 การนำเสนอโครงงานกลุ่ม
    3
    • K1: สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • S2: มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • C3: เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - การนำเสนอโครงงานกลุ่ม
    - การถาม-ตอบ
    - การให้ข้อเสนอเสนอแนะ

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - PowerPoint
    - วิดีโอทาง YouTube
    15 สรุป 3
    • K1: สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • S2: มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - การบรรยาย
    - การอภิปราย
    - การสรุป

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - PowerPoint
    - วิดีโอทาง YouTube
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การสอบ
    • K1: สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • S2: มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • A1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    20 ตามตารางสอบที่มหาวิทยาลัยกำหนด
    กิจกรรมในการเรียนการสอน 6 หัวข้อ
    • K1: สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • S2: มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • A1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • A2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • A3: เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    60 สัปดาห์ที่ 2-13
    การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
    • A1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • A2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • A3: เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    5 สัปดาห์ที่ 1-15
    การจัดทำโครงงานกลุ่มและการนำเสนอโครงงานกลุ่ม
    • K1: สามารถอธิบาย วิเคราะห์ และวิพากษ์ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตลอดจนองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • S1: มีทักษะในการเรียนรู้แบบใช้ประเด็นเป็นฐาน (issue-based learning) ในประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่หลากหลาย
    • S2: มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการเรียน การทำวิจัย และประกอบอาชีพด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    • A1: มีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • A2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    • A3: เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    15 สัปดาห์ที่ 1-15
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา Evans, Peter. (1995). Embedded Autonomy. Princeton: Princeton University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Bruno Amable. (2003). Diversity of Modern Capitalism. Oxford: Oxford University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Harvey, David. (2005). A Brief History of Neoliberalism. University of Chicago Center for International Studies Beyond the Headlines Series.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Smelser, Neil J. and Richard Swedberg. (2005). Introducing Economic Sociology. Pp. 3-26. in The Handbook of Economic Sociology, 2nd ed., edited by Neil J. Smelser and Richard Swedberg. New York and Princeton: Russell Sage Foundation and Princeton University Press.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Alejandro Portes. (1995). Economic Sociology and the Sociology of Immigration: A Conceptual Overview. Pp. 1-41. in The Economic Sociology of Immigration, edited by Alejandro Portes. New York: Russell Sage Foundation.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Virtual community. URL: https://www.britannica.com/topic/virtual-community
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Virtual Community Attraction: Why People Hang out Online. URL:
    https://academic.oup.com/jcmc/article/10/1/JCMC10110/4614455
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Virtual Community Literature Review. URL: http://www.moyak.com/papers/virtual-community-lit-
    review.html
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Transnational Migrants: When "Home" Means More Than One Country. URL:
    https://www.migrationpolicy.org/article/transnational-migrants-when-home-means-more-one-
    country
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Gender, transnational migration and cultural interactions in Thailand. URL:
    http://www.sussexmahidolmigration.co.uk/?page_id=838171&lang=en
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Transnational migration and the gendered right to the city in Buenos Aires. URL:
    https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0264275116301834
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Cadrez, Jaynee. (2013). The Body as a Social Construction. Retrieved November 14, 2019, from http://www.cirquelodge.com/Articles/Body.php.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Coelsch-Foisner, Sabine.(2013). A Body of Her Own: Cultural Constructions of the Female Body in A.S. Byatt's Strange Stories. Retrieved November 14, 2019, from, http://reconstruction.eserver.org/034/coelsch.htm.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Constantinide, Damon M. (2011). Bodies and Identity: Body Image and Understanding Ourselves. Retrieved November 14, 2019, from https://www.goodtherapy.org/blog/body-image-and-understanding-ourselves.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Deocadiz, Mirella. (2011). Beauty: A Cultural Construction or the Natural Order? Retrieved November 14, 2019, from http://serendip.brynmawr.edu/exchange/node/9207.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Frith, Katherine et al. (2013). The Construction of Beauty: A Cross-Cultural Analysis of Women’s Magazine Advertising. Retrieved November 14, 2019, from http://icm.cm.nsysu.edu.tw/teacher/JOC.pdf.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Johansson, Janet et al. (2017). The Body, identity and gender in managerial athleticism. Human Relations, 70(9), 1141-1167. (https://doi.org/10.1177%2F0018726716685161).
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Swedberg, Richard. (2003). Principles of Economic Sociology. Princeton: Princeton University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Anderson, Laurel & Marsha Wadkins. (1991). Japan - a Culture of Consumption? Pp. 129-134 in NA – Advances in Consumer Research Volume 18, edited by Rebecca H. Holman and Michael R. Solomon, Provo, UT: Association for Consumer Research.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Iqani, Mehita. (2016). Globalization, Consumption and Power: Why Media Matter. In Consumption, Media and the Global South. London: Palgrave Macmillan.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Lusk, J., Roosen , J., Shogren, J., & Fabiosa, J. (2011). Globalization and Trends in World Food Consumption. In The Oxford Handbook of the Economics of Food Consumption and Policy. Oxford University Press. Retrieved 15 Nov. 2019, from
    https://www.oxfordhandbooks.com/view/10.1093/oxfordhb/9780199569441.001.0001/oxfordhb-
    9780199569441-e-24
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา McCracken, Grant David. (1990). Culture and Consumption: New Approaches to the Symbolic Character of Consumer Godos an Activities. Bloomington and Indianapolis: Indiana University Press.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา McCracken, Grant David. (1986). Culture and Consumption: A Theoretical Account of the Structure and Movement of the Cultural Meaning of Consumer Goods. Journal of Consumer Research 13(1), 71–84.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Panfilova, Olga et al. (2018). Globalization Impact on Consumption and Distribution in Society. MATEC Web of Conferences 170, 01032 (2018), SPbWOSCE-2017.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Beames, S. et al. (2019). Adventure and Society. Cham, Switzerland: Springer International Publishing AG. Braidotti Rosi. (2017). Posthuman Critical Theory. Journal of Posthuman Studies 1(1), 9-25.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Garrard, G., & Feder, H. (2014). Ecocriticism, Posthumanism, and the Biological Idea of Culture. In The Oxford Handbook of Ecocriticism. : Oxford University Press. Retrieved 15 Nov. 2019, from https://www.oxfordhandbooks.com/view/10.1093/oxfordhb/9780199742929.001.0001/oxfordhb-9780199742929-e-006.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Graham M.S. Dann and Parrinello, G.L. (2009). The Sociology of Tourism: European Origins and Developments (Tourism Social Science). Japan: Emeral.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Haraway, Donna J. (1991). A Cyborg Manifesto: Science, Technology, and Socialist-Feminism in the Late Twentieth Century". Simians, Cyborgs and Women: The Reinvention of Nature. Routledge.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Harari, Yuval N. (2017). Homo Deus. London: Harvill Secker. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Miah A. (2008). A Critical History of Posthumanism. In Gordijn B., Chadwick R. (eds) Medical Enhancement and Posthumanity. The International Library of Ethics, Law and Technology, vol 2. Springer, Dordrecht.
    หนังสือ หรือ ตำรา Wolfe, Cary. (2009). What Is Posthumanism? Minneapolis, MN: University of Minnesota Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Cohen, Eric. (1984). The Sociology of Tourism: Approaches, Issues, and Findings. Annual Review of Sociology. 10, 373-392.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Lonely Planet. (2019). Lonely Planet's Ultimate Travel Quiz Book. Oakland: Lonely Planet. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Rheingold, Howard. (1993). The Virtual Community. Retrieved on November 15, 2019 from http://scott.london/reviews/rheingold.html.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Smith, M., Macleod, N. & Robertson, M. H. (2010). Sociology of tourism. In SAGE key Concepts: Key concepts in tourist studies (pp. 157-160). London: SAGE Publications Ltd.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Tiffin, John and Nobuyoshi Terashima (ed.). 2005. Hyperreality: Paradigm for the Third Millennium. London: Routledge.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Tonnies, F.. (2011). Community and Society. New York: Dover Publications Inc อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Woolley, Benjamin. (1994). Virtual Worlds: A Journey in Hype and Hyperreality. Penguin Books. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Wolfe, Cary. 2009. “What is Posthumanism.” University of Minnesota Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Charsley, Katharine. (2012). Transnational Marriage: New Perspectives from Europe and Beyond. New York: Routledge.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Horn, Denise M. & Serena Parekh. (2018). Introduction to “Displacement”. Signs: Journal of Women in Culture and Society 43(3), 503-514.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Lapanun, Patcharin. (2019). Love, Money and Obligation: Transnational Marriage in a Northern Thai Village. Singapore: NUS Press.
    อาจารย์ภายในคณะ
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Lapanun, Patcharin & Eric C. Thompson. (2018). Masculinity, Matrilineality and Transnational Marriage. Journal of Mekong Societies 14(2), 1-19.
    อาจารย์ภายในคณะ
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Tseng, Hsun-Hui. (2015). Gender and Power Dynamics in Transnational Marriage Brokerage: The Ban on Commercial Matchmaking in Taiwan Reconsidered. Cross-Currents: East Asian History and Culture Review E-Journal No. 15 (June 2015), http://cross-currents.berkeley.edu/e-journal/issue-15.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ