Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกพัฒนาสังคม
Major in Social Development
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS433904
ภาษาไทย
Thai name
การพัฒนาในประชาคมอาเซียน
ภาษาอังกฤษ
English name
Development in ASEAN Community
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-1-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์ธรรม์ธเนศ ปุณณ์ธนามหาการุณ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์ธรรม์ธเนศ ปุณณ์ธนามหาการุณ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีจรรยาบรรณาทางวิชาการ
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • นักศึกษามีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเบื้องต้นในบริบทที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการพัฒนาในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบและมีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • นักศึกษามีภาวะผู้นำ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • นักศึกษามีความสามารถในการเรียนรู้และปรับตัวในการทำงานข้ามวัฒนธรรม และมีความพร้อมในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
    • นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา และการทำงานเป็นทีม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์และเคารพในความหลากหลายของวัฒนธรรม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความรู้พื้นฐานขั้นแนะนำเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศในประชาคมอาเซียน ประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในประชาคมอาเซียน
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Introduction on ASEAN community, political and socio-economic development in ASEAN countries, current issues on development in ASEAN community
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Blended learning
    • สามารถปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Problem-based learning
    • Task-based learning
    • Case discussion
    • Seminar
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 1.1 Class Orientation
    1.2 Class Introduction
    1.3 Meaning, Measurement and Morality of Development
    1.4 Theories and Approaches of Development
    1.5 Post-Development and Alternatives to Development
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K4: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบและมีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C4: นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา และการทำงานเป็นทีม
    1.1 กิจกรรมการเรียนการสอน
    - อธิบายประมวลรายวิชา แนะนำการเรียนการสอน จุดประสงค์การเรียนรู้และรูปแบบการประเมินผล
    - บรรยายเบื้องต้น
    - ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    - อภิปรายแลกเปลี่ยนแสดงความเห็น
    1.2 สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    - หนังสือ ตำราและบทความทางวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Power Point
    - ตัวอย่างกรณีศึกษา
    1.3 ช่องทางการสอน
    - Google Classroom
    - Google Meet
    2 2.1 The State’s Roles in Development
    2.2 Globalization and Development
    2.3 Neoliberalism
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K4: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S4: นักศึกษามีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเบื้องต้นในบริบทที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการพัฒนาในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบและมีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C2: นักศึกษามีภาวะผู้นำ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • C3: นักศึกษามีความสามารถในการเรียนรู้และปรับตัวในการทำงานข้ามวัฒนธรรม และมีความพร้อมในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
    • C4: นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา และการทำงานเป็นทีม
    2.1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - การทำกิจกรรมกลุ่ม
    - ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    - อภิปรายแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
    2.2 สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    - หนังสือ ตำราและบทความทางวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Power Point
    - ตัวอย่างกรณีศึกษา
    2.3 ช่องทางการสอน
    - Google Classroom
    - Google Meet
    3 3.1 The International Financial Institutions
    3.2 International Organizations
    3.3 Debt and Development

    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K3: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K4: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S4: นักศึกษามีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเบื้องต้นในบริบทที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการพัฒนาในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบและมีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C3: นักศึกษามีความสามารถในการเรียนรู้และปรับตัวในการทำงานข้ามวัฒนธรรม และมีความพร้อมในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
    • C4: นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา และการทำงานเป็นทีม
    3.1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - การทำกิจกรรมกลุ่ม
    - ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    - อภิปรายแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
    3.2 สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    - หนังสือ ตำราและบทความทางวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Power Point
    - ตัวอย่างกรณีศึกษา
    - Youtube
    3.3 ช่องทางการสอน
    - Google Classroom
    - Google Meet
    4 4.1 Climate Change and Development
    4.2 Environment and Development
    4.3 Rural Development
    4.4 Urban Development
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K3: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S4: นักศึกษามีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเบื้องต้นในบริบทที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการพัฒนาในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    • C2: นักศึกษามีภาวะผู้นำ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • C4: นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา และการทำงานเป็นทีม
    4.1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - การทำกิจกรรมกลุ่ม
    - ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    - อภิปรายแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
    4.2 สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    - หนังสือ ตำราและบทความทางวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Power Point
    - ตัวอย่างกรณีศึกษา
    - Youtube
    4.3 ช่องทางการสอน
    - Google Classroom
    - Google Meet
    5 5.1 Poverty and Development
    5.2 Inequality and Development
    5.3 Human Security and Development
    5.4 Ethics of Development
    5.5 Welfare and Development

    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S4: นักศึกษามีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเบื้องต้นในบริบทที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการพัฒนาในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบและมีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C2: นักศึกษามีภาวะผู้นำ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • C4: นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา และการทำงานเป็นทีม
    • C5: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์และเคารพในความหลากหลายของวัฒนธรรม
    5.1 กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - การทำกิจกรรมกลุ่ม
    - ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    - อภิปรายแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
    5.2 สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    - หนังสือ ตำราและบทความทางวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Power Point
    - ตัวอย่างกรณีศึกษา
    - Youtube
    5.3 ช่องทางการสอน
    - Google Classroom
    - Google Meet
    6 6.1 Authoritarian Regimes and Democratization
    6.2 Civil Society and Development
    6.3 Conflict and Development
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K3: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K4: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S4: นักศึกษามีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเบื้องต้นในบริบทที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการพัฒนาในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบและมีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C2: นักศึกษามีภาวะผู้นำ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • C3: นักศึกษามีความสามารถในการเรียนรู้และปรับตัวในการทำงานข้ามวัฒนธรรม และมีความพร้อมในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
    • C4: นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา และการทำงานเป็นทีม
    • C5: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์และเคารพในความหลากหลายของวัฒนธรรม
    6.1 กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย
    - การทำกิจกรรมกลุ่ม
    - ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    - อภิปรายแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
    6.2 สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
    - หนังสือ ตำราและบทความทางวิชาการ
    - ชุดสไลด์จากโปรแกรม Power Point
    - ตัวอย่างกรณีศึกษา
    - Youtube
    6.3 ช่องทางการสอน
    - Google Classroom
    - Google Meet
    7-13 การฝึกปฏิบัติและเรียนรู้จากองค์กร
    การสัมมนาผลการเรียนรู้จากองค์กร
    21
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K3: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K4: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณาทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบและมีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    • C2: นักศึกษามีภาวะผู้นำ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • C3: นักศึกษามีความสามารถในการเรียนรู้และปรับตัวในการทำงานข้ามวัฒนธรรม และมีความพร้อมในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
    • C4: นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา และการทำงานเป็นทีม
    • C5: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์และเคารพในความหลากหลายของวัฒนธรรม
    นักศึกษาฝึกปฏิบัติและเรียนรู้จากองค์กร
    14-15 การรายงานการศึกษาอิสระ 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K3: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K4: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S4: นักศึกษามีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเบื้องต้นในบริบทที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการพัฒนาในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณาทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบและมีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    รายงานการศึกษาอิสระ
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    งานกลุ่ม - การนำเสนอบทความที่ได้รับมอบหมาย
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K3: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K4: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S4: นักศึกษามีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเบื้องต้นในบริบทที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการพัฒนาในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    10 สัปดาห์ที่ 1-6
    งานเดี่ยว - การสรุปประเด็นสำคัญและเขียนแสดงความคิดเห็นจากบทความที่กำหนด
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K3: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K4: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S4: นักศึกษามีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเบื้องต้นในบริบทที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการพัฒนาในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    15 สัปดาห์ที่ 2-6
    การประมินจากหน่วยงานหรือองค์กร
    • K3: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    25 สัปดาห์ที่ 15
    งานเดี่ยว - รายงานกลางภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K3: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K4: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    10 ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย
    รายงานการศึกษาอิสระ
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K3: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K4: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    25 สัปดาห์ที่ 14-15
    การสอบกลางภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมและประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ได้
    • K2: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถอธิบายถึงอิทธิพลของประเทศมหาอำนาจต่อการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K3: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการอธิบายประเด็นปัจจุบันของการพัฒนาในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • K4: นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและ/หรือทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
    • K5: นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการประยุกต์ คิดวิเคราห์ประเด็นการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S5: นักศึกษามีทักษะและความสามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาด้านการพัฒนาที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    15 ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Walden Bello, Paradigm Trap: The Development Establishment's Embrace of Myanmar and how to break loose, Transnational Institute (TNI), Paung Ku and Dawei Development Association (DDA) (2018) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Kearrin Sims, “The Asian Development Bank and the Production of Poverty: Neoliberalism, technocratic Modernization and Land Dispossession in the Greater Mekong Subregion,” Singapore Journal of Tropical Geography 36 (2015): 112–126. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Brendan Howe and Kearrin Sims, “Human Security and Development in the Lao PDR: Freedom from Fear and Freedom from Want,” Asian Survey 51, no. 2 (2011): 333-355. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Rajah Rasiah, Makmor Tumin, Latifa Musafar Hameed, Ibrahim Ndoma, “Civil Society Organizations in Opposition to Healthcare Commercialization: Protecting Access for the Poor and Middle Class in Malaysia,” Nonprofit and Voluntary Sector Quarterly 46 no. 3 (2017): 567-585. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Walden Bello, “The Asian Financial Crisis: Causes, Dynamics, Prospects,” Journal of the Asia Pacific Economy 4, no. 1 (1999): 33-55. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Toby Carroll, “The World Bank’s socio-institutional neoliberalism: A case study from Indonesia,” paper presented at National University of Singapore (2006), 1-23. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Tania Murray Li, “Neo-Liberal Strategies of Government through Community: The Social Development Program of the World Bank in Indonesia,” IILJ Working Paper 2006/2 (Global Administrative Law Series), 1-35. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Md. Shariful Islam, “Understanding the Rohingya Crisis and the Failure of Human Rights Norm in Myanmar: Possible Policy Responses,” Jadavpur Journal of International Relations 23, no. 2 (2019): 158–178. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Karel Jansen, “Thailand: The Making of a Miracle?,” Development and Change 32, no. 2 (March 2001): 343-370. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Walden Bello, “Revisiting & Reclaiming Deglobalization,” Focus on the Global South (April 2019): 1-35. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Tania Murray Li, “Fixing Non-market Subjects: Governing Land and Population in the Global South,” Foucault Studies (Special Issue: Ethnographies of Neoliberal Governmentalities) 18 (October 2014): 34-48. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Tania Murray Li, “Fixing Non-market Subjects: Governing Land and Population in the Global South,” Foucault Studies (Special Issue: Ethnographies of Neoliberal Governmentalities) 18 (October 2014): 34-48. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Nancy Birdsall, "The World Is Not Flat: Inequality and Injustice in Our Global Economy," WIDER Annual Lecture 009. (Helsinki: UNU-WIDER, 2006), 1-46 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Robert Hunter Wade, “The Rising Inequality of World Income Distribution,” Finance and Development 38, no. 4 (December 2001): 37 - 39. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Theotonio Dos Santos, “The Structure of Dependence,” The American Economic Review 60, no. 2 (May 1970): 231–236. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Atul Kohli 1994. “Where Do High-Growth Political Economies Come From? The Japanese Lineage of Korea’s ‘Developmental State',” World Politics 22, no. 9 (1994): 1269-1293. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Albert O. Hirschman, "Exit, Voice, and the State," World Politics 31, no. 1 (1978): 90-​107. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Antonio Savoia, Joshy Easaw and Andrew Mckay, “Inequality, Democracy, and Institutions: A Critical Review of Recent Research,” World Development 38, no. 2 (2010): 142–154. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Mark C. Casson, Marina Della Giusta, and Uma S. Kambhampati, "Formal and Informal Institutions and Development," World Development 38, no. 2 (2010): 137-141. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Michael D. Stroup, “Economic Freedom, Democracy, and the Quality of Life,” World Development 35, no. 1 (2007): 52–66. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ APSA (American Political Science Association), "The Persistent Problem: Inequality, Difference, and the Challenge of Development," Report of the Task Force on Difference Inequality, and Developing Societies (July 2008), 1-68. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Lorenz Blume, Jens Müller and Stefan Voigt, “The Economic Effects of Direct Democracy – A First Global Assessment,” Public Choice 140 (2009): 431-461. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Peter Lesson and Claudia R. Williamson, “Anarchy and Development: An Application of the Theory of Second Best,” Law and Development Review 2, no. 1 (2009): 77-96. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Samuel P. Huntington, “The Clash of Civilizations?” Foreign Affairs 72, no. 3 (Summer 1993): 22-49. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Hye Jee Cho, “Impact of IMF Programs on Perceived Creditworthiness of Emerging Market Countries: Is There a “Nixon-Goes-to-China” Effect?” International Studies Quarterly 58, no. 2 (2014): 308–321. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Byungwon Woo and Amanda Murdie, "International Organizations and Naming and Shaming: Does the International Monetary Fund Care about the Human Rights Reputation of Its Client?" Political Studies 65, no. 4 (2017): 767-785. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Adam Przeworski and James Vreeland, "The Effect of IMF Programs on Economic Growth," Journal of Development Economics 62, no. 2 (2000): 385-421. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ James Raymond Vreeland, "The Politics of IMF Conditional Lending," World Economics 8, no. 3 (2007): 185-193. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Strom Thacker, "The High Politics of IMF Lending," World Politics 52, no. 1 (1999): 38-75. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Michael N. Barnett and Martha Finnemore, “The Politics, Power, and Pathologies of International Organizations,” International Organization 53 (1999): 699–732 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ THOMAS PARKS, LARRY MARAMIS, APICHAI SUNCHINDAH, and WERANUCH WONGWATANAKUL, "ASEAN AS THE ARCHITECT FOR REGIONAL DEVELOPMENT COOPERATION: ADVANCING ASEAN CENTRALITY & CATALYZING ACTION FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT," The Asia Foundation (SEPTEMBER 2018) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ BISWA NATH BHATTACHARYAY, "Prospects and Challenges of Integrating South and Southeast Asia," International Journal of Development and Conflict
    4 (2014): 40–66.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Hal Hill, "Is there a Southeast Asian development model?," Discussion Paper Series, No. 26, University of Freiburg, Department of International Economic Policy (iep), Freiburg i. Br. (2014) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Hal Hill, "ASEAN Economic Development: An Analytical Survey—The State of the Field," The Journal of Asian Studies, 53 no. 3 (1994): 832-866. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Charles Hirschman, "Population and Society in Twentieth-Century Southeast Asia," Journal of Southeast Asian Studies, 25 no. 2 (1994): 381-416. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Samuel S. Kim, "Regionalization and Regionalism in East Asia," Journal of East Asian Studies, 4, no. 1 (2004): 39-67. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Eva-Lotta E. Hedman, "Contesting State and Civil Society: Southeast Asian Trajectories," Modern Asian Studies, 35, no. 4 (2001): 921-951. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Darren C. Zook, "Making Space for Islam: Religion, Science, and Politics in Contemporary Malaysia," The Journal of Asian Studies, 69, no. 4 (2010): 1143-1166. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Thomas B. Pepinsky, "The 2008 Malaysian Elections: An End to Ethnic Politics?," Journal of East Asian Studies, 9, no. 1 (2009): 87-120. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Richard F. Doner, "Approaches to the Politics of Economic Growth in Southeast Asia," The Journal of Asian Studies, 50, no. 4 (1991): 818-849. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ADB, "Asian Development Outlook 2017: Transcending the Middle-Income Challenge," Manila: Asian Development Bank (2007) (https://www.adb.org/sites/default/files/publication/237761/ado-2017.pdf). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Wang Lina and Zhai Kun, "China’s Policy Shifts on Southeast Asia: To Build a 'Community of Common Destiny,'" China Quarterly of International Strategic Studies, 2, No. 1 (2016): 81–100. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Robert Inglehart and Christian Welzel, “How Development Leads to Democracy: What We Know about Modernization,” Foreign Affairs, March/April 2009 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Daniel Deudney and G. John Ikenberry, “The Myth of the Autocratic Revival: Why Liberal Democracy Will Prevail,” Foreign Affairs (January–February 2009) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Bruce Bueno de Mesquita and George W. Downs, “Development and Democracy,” Foreign Affairs, September/October 2005 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Rizal Sukma, “Building the ASEAN Community,” The Indonesia Quarterly, Special Issue, 2008 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Herman Joseph S. Kraft, “A Charter for ASEAN,” The Indonesia Quarterly, Special Issue, 2008 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Carolina G. Hernandez, “The ASEAN Charter and the Building of an ASEAN Security Community,” The Indonesia Quarterly, Special Issue, 2008 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Bruce St. John, “Democracy in Cambodia-One Decade, US$5 Billion Later: What Went Wrong?,” Contemporary Southeast Asia (December 2005) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Sean Turnell, “Burma’s Insatiable State,” Asian Survey (November/December 2008) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Win Min, “Looking Inside the Burmese Military,” Asian Survey (November/December 2008) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Ashley South, “Political Transition in Myanmar: A New Model for Democratization,” Contemporary Southeast Asia (August 2002) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ David Koh, “leadership Changes at the 10th Congress of the Vietnamese Communist Party,” Asian Survey (July/August 2008) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Martin Gainsborough, “Political Change in Vietnam: In Search of the Middle-Class Challenge to the State,” Asian Survey (September/October 2002) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Quan Xuan Dinh, “The Political Economy of Vietnam’s Transformation Process,” Contemporary Southeast Asia (August 2000) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Mark R. Thompson, “People Power Sours: Uncivil Society in Thailand and the Philippines,” Current History (November 2008) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Hal Hill and Peter Warr, “The Trouble with Manila and Bangkok,” Far Eastern Economic Review (April 2006) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Patricio N. Abinales and Donna J. Amoroso,. “The Withering of Philippine Democracy,” Current History (September 2006) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Samuel C. K. Yu, “Political Reforms in the Philippines: Challenges Ahead,” Contemporary Southeast Asia (August 2005) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Daniel Joseph Ringuet and Elsa Estrada, “Understanding the Philippines’ Economy and Politics since the return of Democracy in 1986,” Contemporary Southeast Asia (August 2003) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Edmund Terrence Gomez, “Jockeying for Power in the new Malaysia,” Far Eastern Economic Review (July/August 2008) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Simon Montlake, “Race Politics Hobbles Malaysia,” Far Eastern Economic Review (March 2008) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Hugo Restall, “Pressure Builds on Singapore’s system,” Far Eastern Economic Review (September 2008) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Michael D. Barr, “The Charade of Meritocracy”, Far Eastern Economic Review (October 2006) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Garry Rodan, “Singapore’s Founding Myths vs. Freedom,” Far Eastern Economic Review (October 2006) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Linda Low, “The Singapore Developmental State in the New Economy and Polity,” The Pacific Review, 14 No. 3, (2001) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Sebastian C. Leonard, “The Paradox of Indonesian Democracy,” Contemporary Southeast Asia (August 2004) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Kishore Mahbubani and Jeffery Sng, The ASEAN Miracle: A Catalyst for Peace (Singapore: NUS Press, 2017). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Lee Jones, ASEAN, Sovereignty and Intervention in Southeast Asia (Houndmills: Palgrave Macmillan, 2012). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Amitav Acharya, Constructing a Security Community in Southeast Asia: ASEAN and the Problem of Regional Order (New York: Routledge, 2001). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Rabindra Sen, China and ASEAN: Diplomacy during the Cold War and after (Howrah: Manuscript India, 2002). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Simon S. C. Tay, Jesus P. Estanislao, and Hadi Soesastro (eds). Reinventing ASEAN (Singapore: Institute of Southeast Asian Studies, 2001). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Hsien-Li TAN, The ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights: Institutionalising Human Rights in Southeast Asia (Cambridge: Cambridge University Press, 2011). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Simon CHESTERMAN, From Community to Compliance? The Evolution of Monitoring Obligations in ASEAN (Cambridge: Cambridge University Press, 2015). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา James K. Chin & Nicholas Thomas (eds.). China and ASEAN: Changing political and strategic ties (Hong Kong: University of Hong Kong, 2005). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Hongyi Lai and Lim Tin Seng (eds.). Harmony and Development: ASEAN–China Relations (Singapore: World Scientific, 2007). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Siow Yue Chia and Michael G. Plummer. ASEAN Economic Cooperation and Integration: Progress, Challenges and Future Directions (Cambridge: Cambridge University Press, 2015). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Amitav Acharya, ASEAN and Regional Order: Revisiting Security Community in Southeast Asia (New York: Routledge, 2021). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Koh Kheng-Lian, Nicholas A. Robinson, and Lye Lin-Heng, ASEAN Environmental Legal Integration: Sustainable Goals? (New York: Cambridge University Press, 2016). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Stefano Inama and Edmund W. Sim, The Foundation of the ASEAN Economic Community: An Institutional and Legal Profile (New York: Cambridge University Press, 2015). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Marty Natalegawa, Does ASEAN Matter? A View from Within (Singapore: ISEAS – Yusof Ishak Institute, 2018). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Pieter Jan Kuijper, James H. Mathis and Natalie Y. Morris-Sharma, From Treaty-Making to Treaty-Breaking: Models for ASEAN External Trade Agreements (Cambridge: Cambridge University Press, 2015). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Amitav Acharya, Constructing a Security Community in Southeast Asia: ASEAN and the Problem of Regional Order, 3 ed. (London: Routledge, 2014). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Jamie D. Stacey, ASEAN and Power in International Relations: ASEAN, the EU, and the Contestation of Human Rights (New York: Routledge, 2020). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Tommy Koh, Sharon Li-Lian Seah and Li Lin Chang (eds.). 50 Years of ASEAN and Singapore (Singapore: World Scientific Publishing, 2017). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Robert Beckman, Leonardo Bernard, Hao Duy Phan, Tan Hsien-Li and Ranyta Yusran, Promoting Compliance: The Role of Dispute Settlement and Monitoring Mechanisms in ASEAN Instruments (eds.) Joseph Weiler and Tan Hsien-Li (New York: Cambridge University Press, 2016). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Bruce Currie-Alder, Ravi Kanbur, David M. Malone, and Rohinton Medhora (eds.). International Development: Ideas, Experience, and Prospects (Oxford, United Kingdom: Oxford University Press, 2014) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Damien Kingsbury, John McKay, and Janet Hunt, International Development: Issues and Challenges (Basingstoke : Palgrave Macmillan, 2016) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Paul A. Haslam, Jessica Schafer, and Pierre Beaudet (eds.). Introduction to International Development: Approaches, Actors, Issues, and Practice (3 eds.). (Don Mills, Ontario: Oxford University Press, 2017) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Daron Acemoglu and James A Robinson. Why Nations Fail: The Origins of Power, Prosperity and Poverty (New York: Crown, 2012). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ