Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS413603
ภาษาไทย
Thai name
การจัดการพื้นที่และภูมิภาค
ภาษาอังกฤษ
English name
Spatial and Regional Management
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุ่งอรุณ บุญสายันต์
    • รองศาสตราจารย์นิภาพรรณ เจนสันติกุล
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุ่งอรุณ บุญสายันต์
    • รองศาสตราจารย์นิภาพรรณ เจนสันติกุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลัก ทฤษฎี และหลักการทางพื้นที่และภูมิภาค ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีเมือง-ชนบท ภูมินิเวศวิทยา การวิเคราะห์สัจจะเชิงพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ วิธีวิทยา ทักษะพื้นฐาน กระบวนการ วิธีการ กรณีศึกษา และปฏิบัติการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาค
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาคจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษาพัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่มสามารถปรับตัวได้ในสังคมพหุวัฒนธรรม
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับเข้ากับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    แนวคิด ทฤษฎี พื้นที่และภูมิภาค ทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีการพัฒนาเมืองและชนบท การวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนา การวางแผนยุทธศาสตร์ การจัดการเชิงพื้นที่ การประเมินผล และกรณีศึกษา
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Concepts and theories of spatial and regionals, location theory, urban-rural development theories, analysis internal and external factors of spatial and regionals for development, strategic planning, management, evaluation, and case study
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 1) การแนะนำรายวิชา, สร้างข้อตกลงระหว่างผู้สอนและผู้เรียนเกี่ยวกับเงื่อนไขรายวิชา, รับฟังข้อเสนอแนะของผู้เรียนต่อการจัดกระบวนการเรียนการสอน
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลัก ทฤษฎี และหลักการทางพื้นที่และภูมิภาค ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีเมือง-ชนบท ภูมินิเวศวิทยา การวิเคราะห์สัจจะเชิงพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ วิธีวิทยา ทักษะพื้นฐาน กระบวนการ วิธีการ กรณีศึกษา และปฏิบัติการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาค
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาคจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: นักศึกษาพัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับเข้ากับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
    1) แผนการสอน
    2) power point
    3) เอกสารประกอบการบรรยาย
    4) บทเรียนและแบบฝึกหัดออนไลน์ (Google smart classroom)
    2-5 2-5
    บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีการวางแผนพัฒนาพื้นที่ในเขตเมือง
    1.1 พัฒนาการของการพัฒนาของพื้นที่เขตเมือง
    1.2 การบูรณาการการวางแผนพื้นที่และภูมิภาค
    1.3 แนวคิดเรื่อง Smart City
    1.4 แนวคิดเรื่อง Green Growth
    1.5 แนวคิดเรื่อง Sustainable Development
    1.6 สรุปผลการเรียนรู้ : เป้าหมายการพัฒนาประเทศและการวางแผนพื้นที่เพื่อการพัฒนาเมือง
    12
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลัก ทฤษฎี และหลักการทางพื้นที่และภูมิภาค ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีเมือง-ชนบท ภูมินิเวศวิทยา การวิเคราะห์สัจจะเชิงพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ วิธีวิทยา ทักษะพื้นฐาน กระบวนการ วิธีการ กรณีศึกษา และปฏิบัติการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาค
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาคจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษาพัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับเข้ากับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
    1) power point
    2) เอกสารประกอบการบรรยาย
    3) บทเรียนและแบบฝึกหัดออนไลน์ (Google smart classroom)
    4) วารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ e-Journal
    6-9 บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีเพื่อการวางแผนพื้นที่ในเขตชนบท
    2.1 พัฒนาการการพัฒนาของพื้นที่เขตชนบทและกึ่งชนบท
    2.2 แนวคิด Sufficiency Economy และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
    2.3 แนวคิดชุมชนเข้มแข็งและวัฒนธรรมชุมชน
    2.4 การบูรณาการภาคส่วนเพื่อการพัฒนาพื้นที่ชนบท
    2.5 บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการวางแผนและพัฒนาพื้นที่
    2.6 สรุปผลการเรียนรู้ : ความสัมพันธ์ของความอยู่ดีมีสุข (Well-being) กับ ความเหลื่อมล้ำ การกระจายอำนาจ และการจัดสรรทรัพยากรใหม่เพื่อการวางแผนและพัฒนาพื้นที่
    12
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลัก ทฤษฎี และหลักการทางพื้นที่และภูมิภาค ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีเมือง-ชนบท ภูมินิเวศวิทยา การวิเคราะห์สัจจะเชิงพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ วิธีวิทยา ทักษะพื้นฐาน กระบวนการ วิธีการ กรณีศึกษา และปฏิบัติการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาค
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาคจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่มสามารถปรับตัวได้ในสังคมพหุวัฒนธรรม
    • E1: นักศึกษาพัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    1) การบรรยาย
    2) การแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอภิปรายประเด็นที่เกี่ยวข้อง และการถามตอบในชั้นเรียน
    10-11 บทที่ 3 แนวคิด ทฤษฎีพื้นที่และภูมิภาค
    3.1 ขอบเขตในเชิงพื้นที่ ลักษณะเฉพาะ และทุนของพื้นที่
    3.2 แนวคิด ทฤษฎีทำเลและที่ตั้ง
    *กิจกรรมที่ 1 การเลือกพื้นที่ศึกษา สำหรับการวิเคราะห์พื้นที่เฉพาะกรณี
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลัก ทฤษฎี และหลักการทางพื้นที่และภูมิภาค ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีเมือง-ชนบท ภูมินิเวศวิทยา การวิเคราะห์สัจจะเชิงพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ วิธีวิทยา ทักษะพื้นฐาน กระบวนการ วิธีการ กรณีศึกษา และปฏิบัติการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาค
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาคจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่มสามารถปรับตัวได้ในสังคมพหุวัฒนธรรม
    • E1: นักศึกษาพัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับเข้ากับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
    1) การบรรยาย
    2) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอภิปรายประเด็นที่เกี่ยวข้อง และการถามตอบในชั้นเรียน
    3) กิจกรรมระดมความคิดเห็นกลุ่มเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่
    4) การเลือกพื้นที่ศึกษา/การลงพื้นที่
    12-14 บทที่ 4 แนวคิด ทฤษฎีการวางแผนพัฒนา
    4.1 ปรัชญา แนวคิดการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาคเชิงยุทธศาสตร์
    4.2 เทคนิคและทักษะการเก็บข้อมูลเพื่อการวางแผน
    4.3 เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลการวางแผน
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลัก ทฤษฎี และหลักการทางพื้นที่และภูมิภาค ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีเมือง-ชนบท ภูมินิเวศวิทยา การวิเคราะห์สัจจะเชิงพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ วิธีวิทยา ทักษะพื้นฐาน กระบวนการ วิธีการ กรณีศึกษา และปฏิบัติการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาค
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาคจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่มสามารถปรับตัวได้ในสังคมพหุวัฒนธรรม
    • E1: นักศึกษาพัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับเข้ากับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
    1) การบรรยาย
    2) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอภิปรายประเด็นที่เกี่ยวข้อง และการถามตอบในชั้นเรียน
    3) กิจกรรมระดมความคิดเห็นกลุ่มเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่
    4) กรณีศึกษา
    5) การลงพื้นที่
    15 *กิจกรรมที่ 2
    “ปัจจัยภายนอก : โอกาส-สภาวะคุกคาม” ต่อพื้นที่คัดสรรของนักศึกษา เพื่อการศึกษาวิเคราะห์และวางแผนพื้นที่
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลัก ทฤษฎี และหลักการทางพื้นที่และภูมิภาค ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีเมือง-ชนบท ภูมินิเวศวิทยา การวิเคราะห์สัจจะเชิงพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ วิธีวิทยา ทักษะพื้นฐาน กระบวนการ วิธีการ กรณีศึกษา และปฏิบัติการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาค
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาคจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับเข้ากับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
    1) การบรรยาย
    2) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอภิปรายประเด็นที่เกี่ยวข้อง และการถามตอบในชั้นเรียน
    3) กิจกรรมระดมความคิดเห็นกลุ่มเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่
    4) การเลือกพื้นที่ศึกษา/การลงพื้นที่
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าชั้นเรียน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการอภิปรายกลุ่ม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลัก ทฤษฎี และหลักการทางพื้นที่และภูมิภาค ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีเมือง-ชนบท ภูมินิเวศวิทยา การวิเคราะห์สัจจะเชิงพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ วิธีวิทยา ทักษะพื้นฐาน กระบวนการ วิธีการ กรณีศึกษา และปฏิบัติการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาค
    • S2: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่มสามารถปรับตัวได้ในสังคมพหุวัฒนธรรม
    • E1: นักศึกษาพัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับเข้ากับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
    10 1-15
    ศึกษาด้วยตนเองและการสอบย่อยในระบบ Google Classroom*
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลัก ทฤษฎี และหลักการทางพื้นที่และภูมิภาค ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีเมือง-ชนบท ภูมินิเวศวิทยา การวิเคราะห์สัจจะเชิงพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ วิธีวิทยา ทักษะพื้นฐาน กระบวนการ วิธีการ กรณีศึกษา และปฏิบัติการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาค
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาคจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่มสามารถปรับตัวได้ในสังคมพหุวัฒนธรรม
    • E1: นักศึกษาพัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับเข้ากับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
    10 1-15
    การศึกษาพื้นที่คัดสรรและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
      20 13-15
      สอบกลางภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลัก ทฤษฎี และหลักการทางพื้นที่และภูมิภาค ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีเมือง-ชนบท ภูมินิเวศวิทยา การวิเคราะห์สัจจะเชิงพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ วิธีวิทยา ทักษะพื้นฐาน กระบวนการ วิธีการ กรณีศึกษา และปฏิบัติการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาค
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาคจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่มสามารถปรับตัวได้ในสังคมพหุวัฒนธรรม
      • E1: นักศึกษาพัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
      • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับเข้ากับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
      30 ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย
      สอบปลายภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดหลัก ทฤษฎี และหลักการทางพื้นที่และภูมิภาค ทฤษฎีทำเลที่ตั้ง ทฤษฎีเมือง-ชนบท ภูมินิเวศวิทยา การวิเคราะห์สัจจะเชิงพื้นที่และภูมิภาคเพื่อการพัฒนาด้านต่างๆ วิธีวิทยา ทักษะพื้นฐาน กระบวนการ วิธีการ กรณีศึกษา และปฏิบัติการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาค
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาพื้นที่และภูมิภาคจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่มสามารถปรับตัวได้ในสังคมพหุวัฒนธรรม
      • E1: นักศึกษาพัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
      • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับเข้ากับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้
      30 ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ดุษฎี ทายตะคุ. (2556). การวางแผนภาค. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา ธงชัย สันติวงศ์. (2546). การวางแผน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
      หนังสือ หรือ ตำรา Birch, L. E. (ed.). (2009). Urban and Regional Planning Reader.
      หนังสือ หรือ ตำรา Hall, P. and Tewdwr-Jones, M. (2011). Urban and Regional Planning. New York : Routledge.
      หนังสือ หรือ ตำรา จามะรี เชียงทอง. (2557). ชนบทไทย : จากอดีตสู่ปัจจุบัน. เชียงใหม่ : แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
      หนังสือ หรือ ตำรา ฉวีวรรณ เด่นไพบูลย์. (2555). รายงานการวิจัยเรื่อง การกระจายอำนาจในการวางผังเมืองรวมและรูปแบบการพัฒนาเมือง เพื่อสนับสนุนการปรับปรุงโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพฯ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา ไพฑูรย์ ปิยะปกรณ์. (2544). ภูมิศาสตร์ชนบท. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง
      หนังสือ หรือ ตำรา นิจ หิญชีระนันท์. (2557). เล่าเรื่องเมือง. กรุงเทพฯ : สถาบันอาศรมศิลป์.
      หนังสือ หรือ ตำรา นิพันธ์ วิเชียรน้อย. (2558). การบริหารจัดการชุมชนเมือง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา นิพันธ์ วิเชียรน้อย. (2555). คู่มือปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนและผังพัฒนาจังหวัด. ปทุมธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2550). สังคมวิทยาชนบท : แนวคิดทางทฤษฎีและแนวโน้มในสังคม. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
      หนังสือ หรือ ตำรา ทัดพร อินทรนันท์. (2556). แนวทางการพัฒนาศักยภาพพื้นที่และเส้นทางเพื่อเพิ่มจุดหมายการท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์. วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา วรเทพ อรรคบุตร. (2557). ท้องถิ่นทันสมัย. Art Square, 4(18), pp. 4-11.
      หนังสือ หรือ ตำรา Wong, C. (2006). Indicators for Urban and Regional Planning: The Interplay of Policy and Methods. London: Routledge.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วารสารพัฒนาชุมชนและสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Public Administration Review ASPA
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Development in Practice INTRAC
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ www.nesdb.go.th สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ tdri.go.th สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2563). เมืองอัจฉริยะ : ความหมายและข้อควรพิจารณาสำหรับการพัฒนาเมือง. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. 7(1): 3-20. อาจารย์ภายในคณะ
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2565). การออกแบบเพื่อทุกคน: แนวคิดและลักษณะการออกแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร วิทยาเขตอีสาน. 3 (2): 67-81. อาจารย์ภายในคณะ
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

      1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
      1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
      1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

      2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
      2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

      3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
      3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

      4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
      4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
      4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

      5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
      5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
      5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
      5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ