Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2569
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS414410
ภาษาไทย
Thai name
ภาวะผู้นำและมนุษยสัมพันธ์
ภาษาอังกฤษ
English name
Leadership and Human Relation
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์นิภาพรรณ เจนสันติกุล
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์
    • รองศาสตราจารย์นิภาพรรณ เจนสันติกุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทขององค์การได้
      • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ในการสืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนเพื่อใช้ในการศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำได้อย่างสร้างสรรค์
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • เพื่อให้นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ เข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมและรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      แนวคิดและทฤษฎีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่
      และความสามารถของผู้นำ และการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ และชุมชน
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Concepts and theories of leadership, qualifications and characteristics,
      function and capability of the leader, types and sources of the leader and
      create the human relationship in organization and community
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Problem-based learning
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 แนะนำรายวิชาและการอธิบายสาระสำคัญแนวคิดและทฤษฏีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 6
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทขององค์การได้
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ในการสืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนเพื่อใช้ในการศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำได้อย่างสร้างสรรค์
      1. การบรรยายโดยใช้วิดีโอและทำแบบฝึกหัดใน Google Classroom
      2. อธิบายและให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มโดยให้ศึกษารายละเอียดการทำงานรายงานกลุ่มผ่าน Google Classroom และ KKU e-Learning มีการนำเสนอรายงานกลุ่มในสัปดาห์ที่ 6 การถามตอบภายในเวลาที่กำหนด โดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น และการจัดทำรายงาน
      3. การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายภายกลุ่มในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
      4. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานผ่าน Google Classroom และ KKU e-Learning
      3-4 การอธิบายวิวัฒนาการและการพัฒนาภาวะผู้นำ 6
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทขององค์การได้
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ในการสืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนเพื่อใช้ในการศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำได้อย่างสร้างสรรค์
      1. การบรรยายโดยใช้วิดีโอและทำแบบฝึกหัดใน Google Classroom และ KKU e-Learning
      2. การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
      3. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานผ่าน Google Classroom และ KKU e Learning
      5 การอธิบายคุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ 3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทขององค์การได้
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ในการสืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนเพื่อใช้ในการศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำได้อย่างสร้างสรรค์
      1. การบรรยายโดยใช้วิดีโอและทำแบบฝึกหัดใน Google Classroom และ KKU e-Learning
      2. การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
      3. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานผ่าน Google Classroom และ KKU e Learning
      4. การทำกรณีศึกษาและการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom และ Google Classroom
      6-9 การอธิบายภาวะผู้นำในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ภาวะผู้นำเชิงคุณลักษณะ ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูปภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ ภาวะผู้นำกับการจัดการความขัดแย้ง การอธิบายผู้นำกับจริยธรรม ภาวะผู้นำกับการตัดสินใจ ผู้นำกับการบริหารทีมงานและการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ 12
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทขององค์การได้
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ในการสืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนเพื่อใช้ในการศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำได้อย่างสร้างสรรค์
      1. การบรรยายโดยใช้วิดีโอและทำแบบฝึกหัดใน Google Classroom และ KKU e-Learning
      2. การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
      3. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานโดยพบปะผู้สอนในชั้นเรียน
      4. การวัดและประเมินผลด้วยการทำข้อสอบกลางภาคโดยผู้สอนในสัปดาห์ที่ 8
      5. การนำเสนองานที่รับมอบหมายของนักศึกษาในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
      10-13 การอภิปราย การนำเสนอเกี่ยวกับภาวะผู้นำ และกรณีศึกษา
      12
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทขององค์การได้
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ในการสืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนเพื่อใช้ในการศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำได้อย่างสร้างสรรค์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ เข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมและรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. การถามตอบภายในเวลาที่กำหนดโดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น และการจัดทำรายงาน
      2. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน
      3. การทำแบบฝึกหัดและแบบทบทวนเนื้อหาผ่าน Google Classroom และ KKU e-Learning
      4. การทำกรณีศึกษา
      14-16 แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทขององค์การได้ และการสรุปภาพรวมความสัมพันธ์เกี่ยวกับภาวะผู้นำ 9
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทขององค์การได้
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ในการสืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนเพื่อใช้ในการศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำได้อย่างสร้างสรรค์
      • C1: เพื่อให้นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ เข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมและรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1. การบรรยายและการศึกษากรณีศึกษาผ่าน Youtube
      2. การถามตอบภายในเวลาที่กำหนดในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom และ Google Classroom
      3. การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายภายกลุ่มในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom และ Google Classroom
      4. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน
      5. การพบปะในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
      17 การสอบปลายภาค 3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      การจัดสอบปลายภาค
      รวมจำนวนชั่วโมง 51 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การร่วมกิจกรรม การเข้าเรียน การอภิปราย และการส่งแบบฝึกหัด
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      • A1: เพื่อให้นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ เข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมและรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      10 สัปดาห์ที่ 1-16
      การนำเสนอหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้นำ
      เกณฑ์การพิจารณา
      1) ความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหา
      2) การประยุกต์ และการสรุปความอย่างเป็นระบบ
      3) ความตรงเวลาในการส่งงาน
      4) การอ้างอิงถูกต้องตามรูปแบบ
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทขององค์การได้
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ในการสืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนเพื่อใช้ในการศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำได้อย่างสร้างสรรค์
      • A1: เพื่อให้นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ เข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมและรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      10 สัปดาห์ที่ 8
      กรณีศึกษา
      เกณฑ์การพิจารณา
      1) ความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหา
      2) การสืบค้นข้อมูลที่หลากหลายและการอ้างอิงเอกสารอย่างถูกต้องตามรูปแบบ
      3) การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่มและความตรงเวลาในการส่งงาน
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทขององค์การได้
      • S2: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและประสบการณ์ในการสืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนเพื่อใช้ในการศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำได้อย่างสร้างสรรค์
      • A1: เพื่อให้นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ เข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมและรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      30 สัปดาห์ที่ 10-13
      การสอบกลางภาค
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      20 สัปดาห์ที่ 9
      การสอบปลายภาค
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีของภาวะผู้นำ คุณสมบัติและคุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และความสามารถของผู้นำ ประเภทและที่มาของผู้นำ แรงผลักดันที่ทำให้เกิดภาวะผู้นำ การพัฒนาความเป็นผู้นำและการประเมินผู้นำ
      30 สัปดาห์ที่ 17
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2560). ภาวะผู้นำทางการบริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา พัชรา วาณิชวศิน. (2560). การพัฒนาภาวะผู้นำ: จากทฤษฎีสู่แนวปฏิบัติที่ดีและกรณีศึกษา (Leadership Development : Theories, Best Practices and Case Study). กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.
      หนังสือ หรือ ตำรา สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2557). ภาวะความเป็นผู้นำ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
      หนังสือ หรือ ตำรา ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2557). ภาวะผู้นำร่วมสมัย : Contemporary Leadership. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.
      หนังสือ หรือ ตำรา บุษยา วีรกุล. (2558). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา วิโรจน์ สารรัตนะ. (2557). ภาวะผู้นำ : ทฤษฎีและนานาทัศนะร่วมสมัยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ทิพย์วิสุทธิ์.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วีระยุทธ งามจิตร. (2564). คุณสมบัติของผู้นำกับการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ. วารสารสหศาสตร์. 21 (1), 14-25.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ กมลชนก ชมภูพันธุ์. (2564). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมในธุรกิจยุคดิจิทัล. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย. 5 (1), 148-155.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ กุลธิดา มาลาม. (2563). ภาวะผู้นำของผู้บริหารโครงการในศตวรรษที่ 21 กับการผลิตบริการสาธารณะในยุค Thailand 4.0. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย. 4 (3), 189-204.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ กนกพร อินตาวงค์. (2564). ภาวะผู้นำใฝ่บริการ: ความหมาย ความสัมพันธ์และการนำไปปรับใช้ในองค์การ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน. 2 (1), 31-38.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ณัฐนิชา กังสดาลทิพย์. (2564). ผู้นำกับการจัดการความขัดแย้งภายในองค์กร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน. 2 (1), 39-49.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ นเรนทร์ฤทธิ์ ไตรภูมิพิทักษ์. (2564). บทบาทผู้นำท้องถิ่นของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในยุคการเปลี่ยนแปลง. วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด. 1(2), 41-48.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ยุภา นารินนท์. (2563). ผู้นำท้องถิ่นกับการสื่อสาร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน. 1 (3), 38-44.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ รุ่งรัตน์ พลชัย. (2563). ภาวะผู้นำกับการบริหารในยุคดิจิทัล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน. 1 (3), 53-62.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วรินทร ตะนาคี. (2564). ภาวะผู้นำ: การพัฒนา องค์ประกอบ และการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 4 (1), 39-47.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศุภกร ถือธรรม. (2564). คุณลักษณะผู้นำกับการบริหารองค์การแบบเป็นทางการ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน. 2 (1), 59-68.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ อภิรักษ์ บุบผาชื่น. (2563). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม: การขับเคลื่อนองค์การสู่ความเป็นเลิศ. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย. 4 (3), 205-216.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ อรรถชัย แนวเงินดี. (2564). รูปแบบภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ในศตวรรษที่ 21. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน. 2 (1), 13-21.
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

      1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
      1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
      1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

      2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
      2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

      3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
      3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

      4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
      4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
      4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

      5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
      5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
      5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
      5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ