Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS411302
ภาษาไทย
Thai name
การเมืองและการบริหารราชการไทย
ภาษาอังกฤษ
English name
THAI POLITICS AND GOVERNMENT ADMINISTRATION
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสรรค์ ปิยนันทิศักดิ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสรรค์ ปิยนันทิศักดิ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โครงสร้างและสถาบันทางการเมืองและ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหาร การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย และสถานการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในปัจจุบัน ตลอดจน การวิเคราะห์ สาเหตุและเสนอแนวทางแก้ไข
    • นักศึกษาสามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการบริหารราชการไทยจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    จริยธรรม
    Ethics
    • ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์ สุจริต
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาสามารถปรับตัวได้ในสังคมที่พหุวัฒนธรรม อภิปรายประเด็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเมืองและการบริหารราชการได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม รวมถึงมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • สามารถทำงานเป็นทีม มีการสื่อสารที่ดี มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีความสามารถในการปรับตัวได้ดี
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความรู้พื้นฐานและวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โครงสร้างและสถาบันทางการเมือง เช่น รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ รัฐสภา รัฐบาล ศาล พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ กบฏ ปฏิวัติ รัฐประหาร การมีส่วนร่วมทางการเมือง ของประชาชน การเลือกตั้ง ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหาร การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย และสถานการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในปัจจุบัน ตลอดจน การวิเคราะห์ สาเหตุและเสนอแนวทางแก้ไข
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Basic knowledge and evolution of Thai politics and government, structure and political institutes, political parties and interest groups, treason; revolution, coup d’état, public participation, election, the relationship between the politics and the administration, organization for Thai public administration, and current political situations; analysis and suggestion
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 1) การแนะนำรายวิชา, สร้างข้อตกลงระหว่างผู้สอนและผู้เรียนเกี่ยวกับเงื่อนไขรายวิชา, รับฟังข้อเสนอแนะของผู้เรียนต่อการจัดกระบวนการเรียนการสอน
    2) การบรรยาย “ความสำคัญของการเมืองและการบริหารราชการแผ่นดิน”
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โครงสร้างและสถาบันทางการเมืองและ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหาร การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย และสถานการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในปัจจุบัน ตลอดจน การวิเคราะห์ สาเหตุและเสนอแนวทางแก้ไข
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) แนะนำตัวเองทั้งอาจารย์และนักศึกษา
    2) แนะนำรายวิชา
    กระบวนการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลการเรียนรู้-นักศึกษาร่วมเสนอวิธีการประเมินผล
    3) การแบ่งกลุ่มและแลกเปลี่ยน

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) แผนการสอน
    2) power point
    3) เอกสารประกอบการบรรยาย
    2-4 แนวความคิดเกี่ยวกับการเมืองและความเป็นการเมือง
    - ความหมายของการเมืองและความเป็นการเมือง
    - ความสัมพันธ์ของการเมืองและการบริหาร
    6 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โครงสร้างและสถาบันทางการเมืองและ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหาร การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย และสถานการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในปัจจุบัน ตลอดจน การวิเคราะห์ สาเหตุและเสนอแนวทางแก้ไข
    • K2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการบริหารราชการไทยจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • S1: นักศึกษาสามารถปรับตัวได้ในสังคมที่พหุวัฒนธรรม อภิปรายประเด็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเมืองและการบริหารราชการได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม รวมถึงมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) การแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอภิปรายประเด็นที่เกี่ยวข้อง

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) power point
    2) เอกสารประกอบการบรรยาย
    5 การบริหารราชการในระบอบประชาธิปไตย 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โครงสร้างและสถาบันทางการเมืองและ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหาร การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย และสถานการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในปัจจุบัน ตลอดจน การวิเคราะห์ สาเหตุและเสนอแนวทางแก้ไข
    • K2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการบริหารราชการไทยจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) บรรยาย
    2) ถามตอบแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) Power Point
    2) เอกสารประกอบการบรรยาย
    6-8 โครงสร้างและสถาบันทางการเมือง เช่น รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ รัฐสภา รัฐบาล ศาล พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ กบฏ ปฏิวัติ รัฐประหาร การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน การเลือกตั้ง 6 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โครงสร้างและสถาบันทางการเมืองและ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหาร การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย และสถานการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในปัจจุบัน ตลอดจน การวิเคราะห์ สาเหตุและเสนอแนวทางแก้ไข
    • K2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการบริหารราชการไทยจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • S1: นักศึกษาสามารถปรับตัวได้ในสังคมที่พหุวัฒนธรรม อภิปรายประเด็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเมืองและการบริหารราชการได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม รวมถึงมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) การแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอภิปรายประเด็นที่เกี่ยวข้อง

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) power point
    2) เอกสารประกอบการบรรยาย
    3) สื่อวีดีทัศน์ในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
    9-10 การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย
    องค์กรการบริหารและการบริหารราชการไทย (1)
    - พัฒนาการของระบบราชการไทย
    - การแบ่งส่วนการบริหารราชการแผ่นดิน (ส่วนกลาง, ภูมิภาค, ท้องถิ่น)
    - การกระจายอำนาจและระบบราชการไทย
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โครงสร้างและสถาบันทางการเมืองและ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหาร การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย และสถานการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในปัจจุบัน ตลอดจน การวิเคราะห์ สาเหตุและเสนอแนวทางแก้ไข
    • K2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการบริหารราชการไทยจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • S1: นักศึกษาสามารถปรับตัวได้ในสังคมที่พหุวัฒนธรรม อภิปรายประเด็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเมืองและการบริหารราชการได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม รวมถึงมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอภิปรายประเด็นที่เกี่ยวข้อง

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) power point
    2) เอกสารประกอบการบรรยาย
    3) สื่อวีดีทัศน์ในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
    11 องค์กรการบริหารและการบริหารราชการไทย (2)
    - การปฏิรูปการเมือง
    - การปฏิรูประบบราชการ
    - รัฐราชการ : ความสัมพันธ์ อำนาจ และบทบาทของระบบราชการไทยกับระบอบทางการเมือง
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โครงสร้างและสถาบันทางการเมืองและ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหาร การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย และสถานการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในปัจจุบัน ตลอดจน การวิเคราะห์ สาเหตุและเสนอแนวทางแก้ไข
    • K2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการบริหารราชการไทยจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) บรรยาย
    2) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอภิปรายประเด็นที่เกี่ยวข้อง
    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) Power Point
    2) เอกสารประกอบการบรรยาย

    12 การบรรยายพิเศษ “การเมืองในระบอบการปกครองของไทย” 3
    • K2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการบริหารราชการไทยจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • S1: นักศึกษาสามารถปรับตัวได้ในสังคมที่พหุวัฒนธรรม อภิปรายประเด็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเมืองและการบริหารราชการได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม รวมถึงมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับวิทยากรพิเศษ

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) power point
    2) เอกสารประกอบการบรรยาย
    13 กรณีศึกษา: การเมืองไทย
    การเรียนรู้จากกรณีศึกษา : บทบาท ความสัมพันธ์ อำนาจและการชิงอำนาจนำระหว่างฝ่ายการเมืองและระบบราชการไทย
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โครงสร้างและสถาบันทางการเมืองและ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหาร การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย และสถานการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในปัจจุบัน ตลอดจน การวิเคราะห์ สาเหตุและเสนอแนวทางแก้ไข
    • K2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการบริหารราชการไทยจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) การแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอภิปรายประเด็นที่เกี่ยวข้อง
    3) การเรียนรู้จากกรณีศึกษาและการถอดประสบการณ์

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) power point
    2) เอกสารประกอบการบรรยาย
    3) สื่อวีดีทัศน์ในประเด็นที่เกี่ยวข้อง


    14-15 - การนำเสนอรายงานทางการเมืองและการบริหารราชการไทย
    - สรุปเนื้อหาและสาระสำคัญของรายวิชา
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและวิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โครงสร้างและสถาบันทางการเมืองและ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหาร การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย และสถานการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในปัจจุบัน ตลอดจน การวิเคราะห์ สาเหตุและเสนอแนวทางแก้ไข
    • K2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการบริหารราชการไทยจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อการพิเคราะห์ปัญหาทางทฤษฎีและเสนอแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • S1: นักศึกษาสามารถปรับตัวได้ในสังคมที่พหุวัฒนธรรม อภิปรายประเด็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเมืองและการบริหารราชการได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม รวมถึงมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยายสรุป
    2) การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าอิสระของนักศึกษา
    3) นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 10-15 คน ทำรายงานการค้นคว้าอิสระ และนำเสนอผลการศึกษาหน้าชั้นเรียน
    4) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและอภิปรายในประเด็นที่นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอ
    5) ผู้เรียนและผู้สอนแลกเปลี่ยนความเห็นในประเด็นการจัดการเรียนการสอน

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    1) power point
    รวมจำนวนชั่วโมง 39 6
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าชั้นเรียน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการอภิปรายกลุ่ม
      10 1-15
      สอบย่อยและใบงาน
      • S1: นักศึกษาสามารถปรับตัวได้ในสังคมที่พหุวัฒนธรรม อภิปรายประเด็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเมืองและการบริหารราชการได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม รวมถึงมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
      10 6, 12
      รายงานกลุ่มและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
      • S1: นักศึกษาสามารถปรับตัวได้ในสังคมที่พหุวัฒนธรรม อภิปรายประเด็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเมืองและการบริหารราชการได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม รวมถึงมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
      20 13-15
      สอบกลางภาค
      • S1: นักศึกษาสามารถปรับตัวได้ในสังคมที่พหุวัฒนธรรม อภิปรายประเด็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเมืองและการบริหารราชการได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม รวมถึงมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
      30 ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย
      สอบปลายภาค
      • S1: นักศึกษาสามารถปรับตัวได้ในสังคมที่พหุวัฒนธรรม อภิปรายประเด็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเมืองและการบริหารราชการได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม รวมถึงมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
      30 ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. (2543). เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการ
      เมืองไทย หน่วยที่1-15. พิมพ์ครั้งที่ 21. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ชัยอนันต์ สมุทรวณิช. (2545). ปฏิรูประบบราชการ. กรุงเทพฯ : บ้านพระอาทิตย์.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ชาญชัย แสวงศักดิ์. (2544). กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : นิติธรรม.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ประจักษ์ พันธ์ชูเพชร. (2542). การเมืองและการปกครองไทย.กรุงเทพฯ:มายด์ พับลิชิ่ง จำกัด.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2546). กำเนิดระบบราชการและการปฏิรูปในยุคคลาสสิค . กรุงเทพฯ :สงวนกิจการพิมพ์.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม วรัชยา ศิริวัฒน์. (2553). การพัฒนาระบบราชการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม วรเดช จันทรศร. (2542). การพัฒนาระบบราชการไทย . กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดสหายบล๊อกและการพิมพ์.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม วิทยา จิตนุพงศ์. (2553). การเมืองและระบบราชการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม สมาน รังสิโยกฤษฎ์. (2542). การปฏิรูประบบราชการ : แนวคิดและยุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ :สวัสดิการสำนักงาน ก.พ. .
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2549). การเมืองไทย. กรุงเทพฯ :เสมาธรรม.
      สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ. (2544). การปฏิรูประบบราชการ : รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ :
      สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ สำนักงาน ก.พ.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม อรทัย ก๊กผล และ ไตรรัตน์ โภคพลากรณ์ (บรรณาธิการ). (2546). การปฏิรูประบบราชการ : หลากหลายมุมมอง. กรุงเทพฯ
      : มูลนิธิปริญญาโทนักบริหารรัฐกิจธรรมศาสตร์และโครงการปริญญาโทสำหรับนักบริหารอสาขาบริหารรัฐกิจ คณะ
      รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ รัฐศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ รัฐสภาสาร สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ เว็บไซต์ http://www.kpi.ac.th/ http://www.tpd.in.th/
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      • ประเมินโดยการทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อประเมินภาพรวมของการจัดการเรียนการสอน (Classroom research is conducted to evaluate the overall picture of instructional management and learning and teaching.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

      1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
      1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
      1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

      2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
      2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

      3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
      3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

      4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
      4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
      4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

      5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
      5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
      5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
      5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ