Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS412901
ภาษาไทย
Thai name
ภูมิศาสตร์การเมือง
ภาษาอังกฤษ
English name
Political Geography
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสรรค์ ปิยนันทิศักดิ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์สุกัญญา เอมอิ่มธรรม
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสรรค์ ปิยนันทิศักดิ์
    • ศาสตราจารย์เศกสรรค์ ยงวณิชย์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ การวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ทั้งกายภาพและวัฒนธรรมในการกำหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการภาครัฐ และกรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    จริยธรรม
    Ethics
    • ผู้เรียนสามารถพัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • ผู้เรียนสามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
    ทักษะ
    Skills
    • ผู้เรียนสามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์ได้ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับบริบททางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดการขัดแย้งในพื้นที่เฉพาะ รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพหุวิทยาการได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • ผู้เรียนมีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศขาติ มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการ
    • มีภาวะผู้นำภายใต้กรอบการทำงานเป็นทีม โดยมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหา สังเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและกลุ่ม และมีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม รวมถึงตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของแนวคิดทางภูมิศาสตร์การเมือง ภูมิศาสตร์การเมืองและความสัมพันธ์กับภูมิรัฐศาสตร์ การประยุกต์ใช้ภูมิศาสตร์การเมืองในการบริหารจัดการภาครัฐ กรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Definition, scope and development of Political Geography concepts; relations of Political Geography and Geopolitics; Political Geography in public management; Case studies in Thailand and other countries
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-3 1) การแนะนำรายวิชา
    2) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบเขตของภูมิรัฐศาสตร์และความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆ
    9
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ การวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ทั้งกายภาพและวัฒนธรรมในการกำหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการภาครัฐ และกรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    • S1: ผู้เรียนสามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์ได้ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับบริบททางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดการขัดแย้งในพื้นที่เฉพาะ รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพหุวิทยาการได้
    • C1: ผู้เรียนมีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศขาติ มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการ
    -แจกแผนการสอน
    -นศ.เสนอวิธีการวัดผล
    -บรรยาย
    -ดูวิดิทัศน์เรื่อง Explained: World Water Crisis
    4-6 - แนวความคิดและทฤษฎีของภูมิรัฐศาสตร์
    - พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์
    9
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ การวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ทั้งกายภาพและวัฒนธรรมในการกำหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการภาครัฐ และกรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    • S1: ผู้เรียนสามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์ได้ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับบริบททางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดการขัดแย้งในพื้นที่เฉพาะ รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพหุวิทยาการได้
    • C1: ผู้เรียนมีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศขาติ มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการ
    • C2: มีภาวะผู้นำภายใต้กรอบการทำงานเป็นทีม โดยมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหา สังเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและกลุ่ม และมีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม รวมถึงตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
    -บรรยายในห้องเรียนและออนไลน์ผ่าน Google Hangout meets
    - อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนและใน Google Classroom
    - ใบงาน Pretest-Posttest
    7-9 - การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ
    9
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ การวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ทั้งกายภาพและวัฒนธรรมในการกำหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการภาครัฐ และกรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    • S1: ผู้เรียนสามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์ได้ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับบริบททางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดการขัดแย้งในพื้นที่เฉพาะ รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพหุวิทยาการได้
    • C1: ผู้เรียนมีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศขาติ มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการ
    -บรรยายเกี่ยวกับภูมิรัฐศาสตร์ในการรวมกลุ่มเครือข่าย พันธมิตรของรัฐ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ จากกรณีศึกษาทั้งไทยทั้งต่างประเทศ
    - การอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน ในกรณีศึกษาที่ยกมา
    10-14 - ภูมิรัฐศาสตร์กับกระบวนการนโยบายสาธารณะและการบริหารจัดการภาครัฐ
    - กรณีศึกษาภูมิรัฐศาสตร์ที่สัมพันธ์กับรัฐประศาสนศาสตร์
    15
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ การวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ทั้งกายภาพและวัฒนธรรมในการกำหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการภาครัฐ และกรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    • S1: ผู้เรียนสามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์ได้ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับบริบททางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดการขัดแย้งในพื้นที่เฉพาะ รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพหุวิทยาการได้
    • C1: ผู้เรียนมีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศขาติ มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการ
    - บรรยาย
    - การใช้กรณีศึกษา
    - ภาพยนตร์สารคดีที่เกี่ยวข้อง
    - บทความข่าวและบทความวิชาการออนไลน์
    - ใบงาน
    15 สรุปเนื้อหารายวิชา และนำเสนอรายงานกลุ่มประจำภาคเรียน (Term Paper) 3
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ การวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ทั้งกายภาพและวัฒนธรรมในการกำหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการภาครัฐ และกรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    • S1: ผู้เรียนสามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์ได้ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับบริบททางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดการขัดแย้งในพื้นที่เฉพาะ รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพหุวิทยาการได้
    • C1: ผู้เรียนมีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศขาติ มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการ
    • C2: มีภาวะผู้นำภายใต้กรอบการทำงานเป็นทีม โดยมีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหา สังเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและกลุ่ม และมีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม รวมถึงตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
    - การนำเสนอและส่งรายงานกลุ่ม
    - อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
    - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มและกรณีศึกษาที่หลากหลายทั้งในและต่างประเทศ

    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าชั้นเรียน การซักถาม การอภิปรายกลุ่ม
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ การวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ทั้งกายภาพและวัฒนธรรมในการกำหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการภาครัฐ และกรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    • S1: ผู้เรียนสามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์ได้ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับบริบททางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดการขัดแย้งในพื้นที่เฉพาะ รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพหุวิทยาการได้
    10 1-15
    ใบงานและรายงานเดี่ยว
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ การวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ทั้งกายภาพและวัฒนธรรมในการกำหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการภาครัฐ และกรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    • S1: ผู้เรียนสามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์ได้ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับบริบททางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดการขัดแย้งในพื้นที่เฉพาะ รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพหุวิทยาการได้
    20 5,9,11,14
    รายงานกลุ่ม
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ การวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ทั้งกายภาพและวัฒนธรรมในการกำหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการภาครัฐ และกรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    • S1: ผู้เรียนสามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์ได้ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับบริบททางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดการขัดแย้งในพื้นที่เฉพาะ รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพหุวิทยาการได้
    10 15
    สอบกลางภาค
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ การวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ทั้งกายภาพและวัฒนธรรมในการกำหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการภาครัฐ และกรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    • S1: ผู้เรียนสามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์ได้ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับบริบททางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดการขัดแย้งในพื้นที่เฉพาะ รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพหุวิทยาการได้
    30 ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย
    สอบปลายภาค
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ การวิเคราะห์ภูมิรัฐศาสตร์ทั้งกายภาพและวัฒนธรรมในการกำหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์ การรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการภาครัฐ และกรณีศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศ
    • S1: ผู้เรียนสามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางภูมิรัฐศาสตร์ได้ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับบริบททางภูมิรัฐศาสตร์และการจัดการขัดแย้งในพื้นที่เฉพาะ รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพหุวิทยาการได้
    30 ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา โกวิทย์ วงศ์สุรวัฒน์. (2550). ภูมิรัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วาสนา.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2555). ระเบียบโลกใหม่. กรุงเทพฯ : อมรินทร์.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ สุรชาติ บำรุงสุข. (2549). ภูมิรัฐศาสตร์และความมั่นคงของไทย. กรุงเทพฯ : โครงการความมั่นคงศึกษา สกว.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ รัชนีกร บุญ-หลง. (2540). ภูมิศาสตร์การเมือง. กรุงเทพฯ : โครงการตำรา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2554). บูรพาภิวัตน์ : ภูมิ-รัฐศาสตร์และเศรษฐกิจโลกใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (บรรณาธิการ.). (2555). ประมวลแผนที่ : ประวัติศาสตร์-ภูมิศาสตร์-การเมือง กับลัทธิอาณานิคมใน
    อาเซียน-อุษาคเนย์. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ กาญจนี ละอองมณี (บรรณาธิการ.). (2552). รัฐชาติ-พรมแดน : ความขัดแย้งและข้อยุติบมเส้นทาง
    สันติภาพอาเซียน. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2541). พื้นที่การพัฒนา, วารสารธรรมศาสตร์ 24 (2), หน้า 1-62.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ธงชัย วินิจจะกูล. (2556). กำเนิดสยามจากแผนที่ : ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ
    ร่วมกับสำนักพิมพ์อ่าน.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ธงชัย วินิจจะกูล. (2554). ภูมิกายาและประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ โคเฮน, วิลเลียม เอส. (2546). พลวัตรการเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจและภูมิรัฐศาสตร์โลก. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ แอนเดอร์สัน, เบเนดิก อาร์. โอ,จี. (2552). ชุมชนจินตกรรม : บทสะท้อนว่าด้วยกำเนิดและการแพร่ขยายชาตินิยม, ชาญวิทย์
    เกษตรศิริ (บรรณาธิการแปล). กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ สตีเฟน โฮวี. (2555). อะไรคือจักรวรรดิ ? แปลโดย นฤมล ธีรวัฒน์ และ บัญชา สุวรรณานนท์. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิ
    รินธร.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศรัณย์ วงศ์ขจิตร. (2557). อาเซียน : ประชาคมในมิติวัฒนธรรม ความขัดแย้ง และความหวัง. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยา
    สิรินธร.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ และ ศิวพร ละอองสกุล. (2556). จีนมุ่งลงใต้ อินเดียมุ่งตะวันออก อาเซียนตอนบนในยุคบูรพาภิวัตน์.
    ปทุมธานี : สถาบันคลังปัญญาค้นหายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตไทย มหาวิทยาลัยรังสิต.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Agnew, John A., (2003). Geopolitics: re-visioning world politics. London: Routledge.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Agnew, John A., (1997). Political geography: a reader. London: Arnold.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Cohen, Saul B. L., (2015). Geopolitics: the geography of international relations. MA: Rowman & Littlefiled.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Cox, Kevin R., (2002). Political geography: territory, state, and society. Oxford: Blackwell.
    หนังสือ หรือ ตำรา Taylor, Peter J., (2000). Political geography: world-economy, nationa-state and locality. Harlow, England:
    Prentice Hall.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วารสารสังคมศาสตร์
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วารสารศิลปะศาสตร์
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ รัฐศาสตร์สาร
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ รัฐศาสตร์ปริทรรศน์
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Geopolitics
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ www.foreignaffairs.com
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
    1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

    3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
    3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
    4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
    4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
    5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
    5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
    5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ