Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS413404
ภาษาไทย
Thai name
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
ภาษาอังกฤษ
English name
STRATEGIES FOR HUMAN RESOURCE DEVELOPMENT
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักพงษ์ แสนศรี
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักพงษ์ แสนศรี
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    จริยธรรม
    Ethics
    • สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น
    • แสดงพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยมีวินัย มีความรับผอดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
    • นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ปรัชญา ความเป็นมา แนวคิด และนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ สภาพแวดล้อมของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์กับการวางแผนกลยุทธ์ วิธีการและเทคนิคต่าง ๆ ที่ใช้ในการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร การพัฒนาและการฝึกอบรม ความจำเป็นในการพัฒนา
    และฝึกอบรม การวางแผนพัฒนาและฝึกอบรมการประเมินผลการพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม ปัญหาในการพัฒนาและการฝึกอบรม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การภาครัฐและภาคเอกชนของไทย
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Philosophy, background, concepts, strategic human resource administration policy, in human resource management in context as planning and strategic planning, methods and techniques in human resource development, particularly on development and training, training needs, personnel development and training planning, evaluation of personnel development and training, problems in development and training, Human Resource Management in The Public Sector and Private Sector
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    • Work integrated learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 - แนะนํารายวิชา วิธีการเรียน การแบ่งกลุ่ม และการประเมินผล
    1.ความรู้ทั่วไปและความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
    • E1: สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย และแจกประมวลรายวิชา แบ่งกลุ่มนักศึกษา

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    -แผนการสอน
    -power pointประกอบการบรรยาย
    2 2. กรอบแนวคิดของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    _ความหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภาวะผู้นำ
    -วัตถุประสงค์ ประโยชน์ และความแตกต่างของการศึกษา การอบรม และการพัฒนา
    - วิวัฒนาการของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
    • E1: สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น
    • C1: นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - ผู้สอนตั้งคำถามให้ผู้เรียนคิดและแสดงความคิดเห็นในประเด็นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    - บรรยายความรู้เรื่องแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - power pointประกอบการบรรยาย
    3-4 3. ความจำเป็นและความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    - การวิเคราะห์องค์กรสำหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    -ภายในองค์การ
    -ภายนอกองค์การ
    -ปัจจัยที่ชี้นำในความจำเป็นที่ต้องมีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
    • E2: แสดงพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยมีวินัย มีความรับผอดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ
    • C1: นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยายในประเด็นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในอดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต
    - ให้นักศึกษาเลือกหน่วยงาน แล้วถอดบทเรียน วิเคราะห์ให้เห็นว่าองค์กรนั้นมีวิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างไร

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - power point ประกอบการ บรรยาย
    5 การเรียนรู้ของบุคคลและกลุ่ม ปฎิสัมพันธ์ภายในองค์การ 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
    • E1: สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น
    • E2: แสดงพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยมีวินัย มีความรับผอดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ
    • C1: นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย การเรียนรู้ของบุคคลและกลุ่ม ปฎิสัมพันธ์ภายในองค์การ โดยอาศัยความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่หลากหลายเข้ามาดำเนินกิจกรรมร่วมกัน

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - power point ประกอบการ บรรยาย
    6-7 4. ปรัชญาทฤษฎีของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    - ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
    -ทฤษฎีระบบ
    -ทฤษฎีจิตวิทยา
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
    • E1: สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น
    • E2: แสดงพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยมีวินัย มีความรับผอดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ
    • C1: นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยายในประเด็นทฤษฎีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    - อภิปรายและการ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - power point ประกอบการ บรรยาย
    8-9 5. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
    -กระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
    -การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ในองค์การ
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
    • E1: สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น
    • E2: แสดงพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยมีวินัย มีความรับผอดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ
    • C1: นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - ผู้สอนบรรยายเรื่องการวางแผลเชิงกลยุทธ์ และการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    - ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปราย

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - power point ประกอบการ บรรยาย
    10-12 9. เทคนิคการฝึกอบรม 9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
    • E1: สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น
    • E2: แสดงพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยมีวินัย มีความรับผอดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ
    • C1: นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย อภิปรายร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
    - ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการจัดการฝึกอบรม

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - power point ประกอบการบรรยาย
    บทบาทสมมุติ
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    ฝึกปฏิบัติจริง
    13 การสร้างขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
    • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
    • E1: สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น
    • E2: แสดงพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยมีวินัย มีความรับผอดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ
    • C1: นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    - บรรยาย อภิปรายร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    - power point ประกอบการบรรยาย
    14 Case Study: HRD ฝึกปฏิบัติจริงในการพัฒนาและฝึกอบรม 3
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - บรรยาย อภิปรายร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
      - ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการจัดการฝึกอบรม

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      - power point ประกอบการบรรยาย
      15 Case Study: HRD ฝึกปฏิบัติจริงในการพัฒนาและฝึกอบรม 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
      • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
      • E1: สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น
      • E2: แสดงพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยมีวินัย มีความรับผอดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ
      • C1: นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      บรรยายสรุป /นศ.นำเสนอรายงานอภิปราย/ให้ข้อแนะนำร่วมกัน

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      -power point ประกอบการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม และรายงานฉบับสมบูรณ์
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การสอบกลางภาค
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      งานกลุ่ม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
      • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
      30 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
      การสอบปลายภาค
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      งานกลุ่ม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
      • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
      30 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
      การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วม
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      งานกลุ่ม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
      • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
      10 สัปดาห์ที่ 1-15
      แบบฝึกปฏิบัติ

      งานกลุ่ม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
      • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
      • E1: สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น
      • E2: แสดงพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยมีวินัย มีความรับผอดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ
      • C1: นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
      10 สัปดาห์ที่ 10-12
      รายงานและการนำเสนอ
      งานกลุ่ม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
      • S1: นักศึกษาสามารถประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงและเกิดประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นเครื่องมือการอยู่ร่วมในสังคมและเป็นกลไกขับเคลื่อนองค์การไปสู่เป้าหมาย
      • E1: สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมและจริยธรรม โดยใช้ดุลยพินิทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น
      • E2: แสดงพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยมีวินัย มีความรับผอดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละ
      • C1: นักศึกษามีเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการทำงานในสภาพแวดล้อมหรือองค์การสมันใหม่ ที่มีบุคลและทำงานร่วมกับคนต่างเชื้อชาติและวัฒนธรรมได้
      20 สัปดาห์ที่ 14-15
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา เอกสารประกอบการสอนวิชา 414 222 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ ผศ.ดร.สุขุมวิทย์ ไสยโสภณ
      สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พิมพ์ครั้งที่ 1 ขอนแก่น: 2553
      หนังสือ หรือ ตำรา ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์. หลักบริหารพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด, 2557
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ พิชัย ศรีพิพัฒน์ไพบูลย์ ผู้จัดการอบรมมืออาชีพ สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. กรุงเทพ 2543
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ เกรียงศักดิ์ เขียวยิ่ง. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพ: เอ็กซเปอร์เนท จำกัด. 2550.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม เกรย์ เดสเลอร์. แปลโดย ชำนาญ ปิยวนิชวงษ์ และคณะ. กรอบความคิดสำหรับการจัดการทรัพยากรมนุษย์. กุรงเทพฯ:
      เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น, 2552.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ทองศรี กำภู ณ อยุธยา (บ.ก.). การบริหารงานบุคคลในแนวทางใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 15) กรุงเทพฯ: เอส แอนด์ จี กราฟฟิค,
      2545.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม นิสดารก์ เวชยานนท์. มิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์. กรุงเทพฯ: กราฟิโก ซิสเต็ทส์, 2551.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      • ประเมินโดยการทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อประเมินภาพรวมของการจัดการเรียนการสอน (Classroom research is conducted to evaluate the overall picture of instructional management and learning and teaching.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

      1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
      1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
      1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

      2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
      2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

      3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
      3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

      4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
      4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
      4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

      5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
      5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
      5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
      5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ