Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS411102
ภาษาไทย
Thai name
ทฤษฎีองค์การและการจัดการ
ภาษาอังกฤษ
English name
ORGANIZATION THEORIES AND MANAGEMENT
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์
    • อาจารย์อิมรอน โสะสัน
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีความซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ และตรงต่อเวลา
    • มีความรับผิดชอบต่อตัวเองและสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีความรู้ความสามารถนำองค์ความรู้ไปปฏิบัติงาน ในตำแหน่งหน้าที่ การงานที่ได้รับมอบหมายได้
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใขและมีความพร้อมในการทำงานโดยใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีในการทำงานเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในภาครัฐและเอกชน
    • นักศึกษามีความคิดสร้างสรรค์
    • นักศึกษาไฝ่การเรียนรู้ สามารถปรับตัวเข้ากับอนาคต
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย วิธีการ ทฤษฎีและแนวความคิดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับองค์การ และการจัดการ หลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ กรณีศึกษา
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Meanings, methods, theories and concepts related to organization and management, principles of management, Planning, organizing, staffing, directing, motivating, and controlling, application of organization theories to solving the problem of management in modern world, organization development towards excellence, case studies
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 บทที่ 1
    1.1 ความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ
    1.2 ความหมายขององค์การ การจัดการและการบริหาร
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย ถามตอบแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Power Point
    เอกสารประกอบการบรรยาย
    2 1.3 ประเภทของทฤษฎีองค์การและประโยชน์ของทฤษฎีองค์การ
    1.4 ความแตกต่างองค์การเอกชนและองค์การสาธารณะ
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย ถามตอบแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Power Point
    เอกสารประกอบการบรรยาย
    3-5 บทที่ 2 แนวความคิดทฤษฎีองค์การ
    ทฤษฎีคลาสสิก หรือแบบดั้งเดิม (Classic Theory)
    2.1 แนวคิดการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ ของFrederick Taylor and Science Management.
    2.2 ทฤษฎีองค์การเชิงบริหาร ของ Henry Fayol and Principal of Organization.
    2.3 ทฤษฎีองค์การระบบราชการ ของ Max Weber and Bureaucracy.
    2.4 Luther Gulick. & Urwick
    2.5 Mooney & Rieley
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย ถามตอบแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Power Point
    เอกสารประกอบการบรรยาย
    6-7 บทที่ 3 ทฤษฎีองค์การยุคพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Theory)
    3.1 Elton Mayo and Hawthorne Study.
    3.2 Mary Parker Follett.
    3.3 Chester Barnard and Cooperate System
    3.4 Abraham H. Maslow and A Thepry of Human Motivation.
    Douglas McGregor and Theory X – Theory Y.
    Katz and Kahn

    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย ถามตอบแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Power Point
    เอกสารประกอบการบรรยาย
    6-7 บทที่4 ทฤษฎีองค์การยุควิทยาการจัดการ (Management Science)
    4.1 ลักษณะและบทบาทManagement Science
    4.2 Management Science เพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย ถามตอบแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Power Point
    เอกสารประกอบการบรรยาย
    8 บทที่ 5 ทฤษฎีองค์การยุคสมัยใหม่ (Modern Organization Theory)
    5.1 System Theory
    5.2 Contingency Theory.
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Power Point
    เอกสารประกอบการบรรยาย
    9 บทที่ 5 ทฤษฎีองค์การยุคสมัยใหม่(Modern Organization Theory)
    5.3 Reengineering.
    5.4 องค์การเสมือนจริง
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย ถามตอบแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Power Point
    เอกสารประกอบการบรรยาย
    10 5.5 องค์การแห่งการเรียนรู้
    5.6 องค์การคุณภาพ



    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย ถามตอบแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Power Point
    เอกสารประกอบการบรรยาย
    11-12 บทที่ 5 หลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    บรรยาย ถามตอบแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Power Point
    เอกสารประกอบการบรรยาย
    13 กรณีศึกษา 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    1) เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในองค์การ ทั้งในแง่บวกและแง่ลบ รวมทั้งทำให้เกิดการเรียนรู้และเสริมสร้างประสบการณ์ในการทำงานให้กับนักศึกษา
    2) เพื่อเสริมสร้างทักษะให้นักศึกษารู้จักการใช้กรณีศึกษาในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้
    3) เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะในการใช้กรณีศึกษา มีการวิเคราะห์ปัญหาขององค์การ และเข้าใจถึงสภาพแวดล้อมโดยทั่วไปขององค์การในแนวทางที่เป็นทฤษฎีเชิงระบบได้
    14-15 นักศึกษานำเสนอรายงาน 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    นักศึกษานำเสนอรายงานกลุ่ม
    ตอบคำถาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับอาจารย์และเพื่อนๆ

    นำเสนอเป็นเอกสารและ
    Power Point

    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    แบบฝึกปฏิบัติ
    งานกลุ่ม
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    10 ทุกบทเรียน
    การสอบกลางภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    30 ตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย
    รายงาน
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้า เรียบเรียง สรุป วิเคราะห์ รายงาน หรือ กรณีศึกษาตัวอย่างที่ได้รับมอบหมาย โดยการทำรายงานเชิงวิจัย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงการนำเสนอและการสื่อสารทางวิชาการ
    30 สัปดาห์ที่ 14-15
    การสอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการทั่วไป แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปขององค์การและการจัดการ ทฤษฎีองค์การยุคดั้งเดิม ยุคการบริหารจัดการเชิงพฤติกรรม (ยุคมนุษยสัมพันธ์) ยุควิทยาการจัดการ ยุคสมัยใหม่ และหลักการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจและการควบคุม การประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีองค์การ กับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ พัฒนาองค์กรเพื่อความเป็นเลิศ จากตำรา เอกสาร การเรียน ในชั้นเรียน และสื่อต่างๆ
    30 ตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา สมคิด อุโมงค์. 2551. องค์การและการจัดการ.พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
    หนังสือ หรือ ตำรา ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ . 2545. ทฤษฎีองค์การ.พิมพ์ครั้งที่5.กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ศิริพร พงศ์ศรีโรจน์. 2543. องค์การและการจัดการ.พิมพ์ครั้งที่ 9.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ติน ปรัชญพฤทธิ์. 2553. ทฤษฎีองค์การ.พิมพ์ครั้งที่ 5.กรุงเทพฯ: อินทภาษ.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. 2555.ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่.พิมพ์ครั้งที่ 13.กรุงเทพฯ: แชท โฟร์ พริ้นติ้ง.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม พิทยา บวรวัฒนา. 2552. ทฤษฎีองค์การสาธารณะ.พิมพ์ครั้งที่ 13.กรุงเทพฯ:ศักดิ์โสดาการพิมพ์.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม รัชยา ภักดีจิตต์.2557. ธรรมาภิบาลเพื่อการบริหารภาครัฐและเอกชน.พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ:
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม ปกรณ์ ศิริประกอบ. 2559. 3 พาราไดม์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ แนวคิด ทฤษฎี และการนำไปปฎิบัติจริง
    .พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม บุญทัน ดอกไธสง. 2553. ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์ยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ:ปัญญาชน.
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    • ประเมินโดยการทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อประเมินภาพรวมของการจัดการเรียนการสอน (Classroom research is conducted to evaluate the overall picture of instructional management and learning and teaching.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
    1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

    3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
    3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
    4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
    4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
    5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
    5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
    5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ