Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น
Japanese
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS322302
ภาษาไทย
Thai name
การอ่านและการเขียนภาษาญี่ปุ่น 2
ภาษาอังกฤษ
English name
Japanese Reading and Writing II
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS322301#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์รัชนี ปิยะธำรงชัย
    • อาจารย์Nobuki Shinohara
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์รัชนี ปิยะธำรงชัย
    • อาจารย์Nobuki Shinohara
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    กลวิธีการอ่านและเขียน การตั้งวัตถุประสงค์ในการอ่านการตั้งคำถามเพื่อเป็นแรงจูงใจให้ติดตามเนื้อเรื่อง การจับประเด็นสำคัญการเรียงลำดับความคิดและการสรุปความจากการอ่านความเรียงขนาดสั้น
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Reading and writing strategies, establishing the reasons for reading a passage, asking questions to motivate the reader to continue with the passage, determining topics and main ideas, summarizing short passages
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Task-based learning
    • E-Learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 - แนะนำรายวิชาและการประเมินผล
    - การอ่านเนี้อเรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมการกินของญี่ปุ่น
    - การเขียนเรื่องวัฒนธรรมการกินของไทย
    -คำศัพท์และคันจิประจำเนื้อเรื่อง
    -คำศัพท์และคันจิประจำการเขียน
    -ทดสอบศัพท์และคันจิ
    6
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ทำแบบทดสอบ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    e-Learning
    ในห้องเรียน
    KKU e-Learning
    3-4 - การอ่านขั้นตอนการพับกระดาษ และวิธีทำอาหารญี่ปุ่น
    - การเขียนขั้นตอนในการทำอาหารไทย
    -คำศัพท์และคันจิประจำเนื้อเรื่องการอ่าน
    -คำศัพท์และคันจิประจำการเขียน
    -ทดสอบศัพท์และคันจิ
    6
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ทำแบบทดสอบ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    e-Learning
    ในห้องเรียน
    KKU e-Learning
    5-6 - การอ่านเนี้อเรื่องเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของข้าวแกงญี่ปุ่น
    - การเขียนเรื่องเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของข้าวแกงไทย
    -คำศัพท์และคันจิประจำเนื้อเรื่องการอ่าน
    -คำศัพท์และคันจิประจำการเขียน
    -ทดสอบศัพท์และคันจิ
    6
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ทำแบบทดสอบ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    e-Learning
    ในห้องเรียน
    KKU e-Learning
    7-8 - การอ่านเนี้อเรื่องเกี่ยวกับการวางอนาคตของวัยรุ่นญี่ปุ่น
    - การเขียนเรื่องเกี่ยวกับอนาคตของตนเอง
    -คำศัพท์และคันจิประจำเนื้อเรื่องการอ่าน
    -คำศัพท์และคันจิประจำการเขียน
    -ทดสอบศัพท์และคันจิ
    6
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ทำแบบทดสอบ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    e-Learning
    ในห้องเรียน
    KKU e-Learning
    9-10 - การอ่านเนี้อเรื่องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
    - การเขียนเรื่องชีวิตประจำวันและสุขภาพตนเอง
    -คำศัพท์และคันจิประจำเนื้อเรื่องการอ่าน
    -คำศัพท์และคันจิประจำการเขียน
    -ทดสอบศัพท์และคันจิ
    6
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ทำแบบทดสอบ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    e-Learning
    ในห้องเรียน
    KKU e-Learning
    11-12 - การอ่านเนี้อเรื่องเกี่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อม
    - การเขียนเรื่องเกี่ยวกับกิจกรรมในการรักษาสิ่งแวดล้อมของตนเอง
    -คำศัพท์และคันจิประจำเนื้อเรื่องการอ่าน
    -คำศัพท์และคันจิประจำการเขียน
    -ทดสอบศัพท์และคันจิ
    6
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ทำแบบทดสอบ
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    หนังสือ หรือ ตำรา
    e-Learning
    ในห้องเรียน
    KKU e-Learning
    13-14 - การอ่านไดอารี่
    - การเขียนไดอารี่
    -คำศัพท์และคันจิประจำเนื้อเรื่องการอ่าน
    -คำศัพท์และคันจิประจำการเขียน
    -ทดสอบศัพท์และคันจิ
    6
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง
    ทำแบบทดสอบ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    ในห้องเรียน
    15 - การอ่านโปสการ์ด
    - การเขียนโปสการ์ด
    -คำศัพท์และคันจิประจำเนื้อเรื่องการอ่าน
    -คำศัพท์และคันจิประจำการเขียน
    -ทดสอบศัพท์และคันจิ
    3
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่อง
    ทำแบบทดสอบ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    ในห้องเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    ความตรงต่อเวลาและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมในห้องเรียน
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    10 ทุกสัปดาห์
    การบ้านและแบบฝึกหัด
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    30 ทุกสัปดาห์
    การสอบย่อย
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    20 ทุกสัปดาห์
    การสอบกลางภาค
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    20 เป็นไปตามปฏิทินการสอบกลางภาคของมหาวิทยาลัย
    การสอบปลายภาค
    • K1: เข้าใจกลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K2: เข้าใจหลักการเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างภาษาที่ยากขึ้นได้
    • K3: สามารถอ่านเนื้อเรื่องและเข้าใจเนื้อเรื่องที่มีตัวอักษรคันจิที่ปรากฏในเนื้อเรื่องได้
    • K4: สามารถอ่านและเขียนคันจิในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • K5: เข้าใจวัฒนธรรมที่ปรากฏในเนื้อหาที่เรียนอย่างถูกต้อง
    • S1: นักศึกษาสามารถใช้กลวิธีการตั้งคำถาม การจับประเด็น และเขียนสรุปโดยใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่ยากขึ้นได้อย่างถูกต้อง
    • S2: นักศึกษาสามารถสื่อและเขียนใช้สำนวนภาษาและโครงสร้างที่เรียนได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมชาติ
    • E1: นักศึกษาเข้าใจวิธีพื้นฐานของการอ้างอิงเมื่อเขียนและสามารถอ้างอิงแหล่งที่มาได้อย่างถูกต้อง
    20 เเป็นไปตามปฏิทินการสอบปลายภาคของมหาวิทยาลัย
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา Makino Akiko, Sawada Sachiko, Shigekawa Akemi, Tanaka Yone, Mizuno Mariko. (2000). Minna no Nihongo Shokyuu I Shokyuu de yomeru topikku 25. Tokyo : 3a Network
    หนังสือ หรือ ตำรา Kadowaki Kaoru, Nishiuma Kaoru. (1999). Minna no Nihongo Shokyuu Yasashii Sakubun. Tokyo : 3a Network
    หนังสือ หรือ ตำรา Tomioka Sumiko. (1988). Nihongo Sakubun I. Tokyo : Senmon Kyouiku
    หนังสือ หรือ ตำรา Japanese Language Center for International Students. (1999). Shokyuu Nihongo Sakubun Renshuuchou. Tokyo : Bonjinsha
    หนังสือ หรือ ตำรา Chinami Kyouko, Uegaki Yasuyo. (2000). Reading and Writing in Japanese for Beginners. Tokyo : Aruku
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Research Institute for Japanese Language Education. (2004). Dokkai wo hajimaru anata e. Tokyo : Bonjinsha
    หนังสือ หรือ ตำรา Hiroko Ishizawa, Munechika Toyoda และสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น). (2003). มินนะ โนะ นิฮงโกะ 1-4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม
    หนังสือ หรือ ตำรา Nishikuma Shunya. (2018).
    Nihongo Rojikaru Toreeningu Shokyuu. Tokyo : Aruku
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. คุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
    2. ความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
    3. ทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
    5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ