Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น
Japanese
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS323106
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาญี่ปุ่น 6
ภาษาอังกฤษ
English name
JAPANESE VI
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS323105#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์รัชนี ปิยะธำรงชัย
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์รัชนี ปิยะธำรงชัย
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
    • นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
      • นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
      • นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
      • นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
      • นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
      • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่นและไทย
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างทางภาษาญี่ปุ่นระดับสูงขั้นสูง ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน เพื่อใช้ในวัตถุประสงค์เฉพาะด้าน
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Vocabulary, expressions, structures in the Japanese upper advanced level, Skills of listening, speaking, reading and writing for special purposes
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Content and language integrated learning
      • Task-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 - แนะนำรายวิชาและการประเมินผล
      - สำนวนการพูดบอกสาเหตุ เหตุผล
      - บทความขนาดยาว
      - ศัพท์และตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      - สำนวนการเปรียบเทียบ
      - บทความขนาดยาว
      - ศัพท์และตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
      • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
      • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
      • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
      • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
      • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
      • C3: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่นและไทย
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      1. การบรรยายและฝึกอ่านประโยคตัวอย่างในบทเรียน
      2. แบ่งกลุ่มฝึกแต่งประโยคการอธิบายให้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆและนำเสนอ
      3. แบ่งกลุ่มฝึกสรุปใจความของบทความขนาดยาวและนำเสนอ
      4. ทบทวนคำศัพท์และตัวอักษรคันจิ
      5. ฟัง CD และฝึกอ่านออกเสียงตาม

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      1. ประมวลรายวิชา
      2. เอกสารประกอบการบรรยาย
      3. แบบฝึกหัดที่เกี่ยวกับสำนวนการบอกเหตุและผล และสำนวนการเปรียบเทียบ
      4. แบบฝึกเขียนตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      5. CD
      3-4 - สำนวนแสดงความเปลี่ยนแปลง
      - บทความขนาดยาว
      - ศัพท์และตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
      • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
      • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
      • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
      • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
      • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
      • C3: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่นและไทย
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      1. การบรรยายและฝึกอ่านประ โยคตัวอย่างในบทเรียน
      2. แบ่งกลุ่มฝึกแต่งประโยคโดยใช้ศัพท์และสำนวนการขยายเพิ่มเติมเนื้อความและนำเสนอ
      3. แบ่งกลุ่มฝึกสรุปใจความของบทความขนาดยาวและนำเสนอ
      4. จับเวลา 15 นาทีและให้เขียนความคิดเห็นเกี่ยว กับบทความขนาดยาวที่ได้อ่าน
      5. ทบทวนคำศัพท์และตัวอักษรคันจิ
      6. ฟังCD และฝึกอ่านออกเสียง

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      1. ประมวลรายวิชา
      2. เอกสารประกอบการบรรยาย
      3. แบบฝึกหัดเกี่ยวกับสำนวนการแสดงความเปลี่ยนแปลง
      4. แบบฟอร์มกระดาษเขียนเรียงความแบบญี่ปุ่นความยาว 400 ตัว
      5. แบบฝึกเขียนตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      6. CD
      5-6 - สำนวนการบอกต่อ
      - บทความขนาดยาว
      - สำนวนระบุช่วงเวลา
      - บทความขนาดยาว
      - ศัพท์และตัวอักษรคันจิ
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
      • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
      • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
      • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
      • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
      • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
      • C3: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่นและไทย
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      1. การบรรยายและฝึกอ่านประ โยคตัวอย่างในบทเรียน
      2. แบ่งกลุ่มฝึกแต่งประโยคการบอกต่อ และการใช้สำนวนระบุช่วงเวลาต่างๆ
      3. แบ่งกลุ่มฝึกสรุปใจความของบทความขนาดยาวและนำเสนอ
      4. ทบทวนคำศัพท์และตัวอักษรคันจิ 5. ฟังCD และฝึกอ่านออกเสียง

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      1. ประมวลรายวิชา
      2. เอกสารประกอบการบรรยาย
      3. แบบฝึกหัดที่กำหนดสถาน การณ์ต่างๆและให้เลือกใช้ไวยากรณ์ที่เหมาะสม
      4. แบบฝึกเขียนตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      5. CD
      7-8 - สำนวนการคาดคะเน
      - บทความขนาดยาว รถยนต์อัตโนมัติ
      - ศัพท์และตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
      • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
      • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
      • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
      • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
      • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
      • C3: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่นและไทย
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      1. การบรรยายและฝึกอ่านประ โยคตัวอย่างในบทเรียน
      2. แบ่งกลุ่มอ่านเนื้อเรื่องสั้นๆ ฝึกสรุปใจความและนำเสนอ
      3. แบ่งกลุ่มฝึกสรุปใจความของบทความขนาดยาวและนำเสนอ
      4. จับเวลา 15 นาทีและให้เขียนความคิดเห็นเกี่ยว กับบทความขนาดยาวที่ได้อ่าน
      5. ทบทวนคำศัพท์และตัวอักษรคันจิ 6. ฟังCD และฝึกอ่านออกเสียง

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      1. ประมวลรายวิชา
      2. เอกสารประกอบการบรรยาย
      3. แบบฝึกหัดที่กำหนดสถานการณ์ต่างๆและให้เลือกใช้ไวยากรณ์ที่เหมาะสม
      4. แบบฟอร์มกระดาษเขียนเรียงความแบบญี่ปุ่นความยาว 400 ตัว
      5. แบบฝึกเขียนตัวอักษรคันจิ
      6. CD
      10-11 -สำนวนแสดงความคาดหวัง
      - บทความขนาดยาว
      - ศัพท์และตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
      • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
      • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
      • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
      • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
      • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
      • C3: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่นและไทย
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      1. การบรรยายและฝึกอ่านประ โยคตัวอย่างในบทเรียน
      2. แบ่งกลุ่มฝึกสรุปใจความของบทความขนาดยาวและนำเสนอ
      3. จับเวลา 20 นาทีและให้เขียนความคิดเห็นเกี่ยว กับบทความขนาดยาวที่ได้อ่าน
      4. ทบทวนคำศัพท์และตัวอักษรคันจิ5. ฟังCD และฝึกอ่านออกเสียง

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      1. ประมวลรายวิชา
      2. เอกสารประกอบการบรรยาย
      3. แบบฝึกหัด
      4. แบบฟอร์มกระดาษเขียนเรียงความแบบญี่ปุ่นความยาว 400 ตัว
      5. แบบฝึกเขียนตัวอักษรคันจิ
      6. CD
      12-13 -สำนวนการอธิบายอย่างเป็นเหตุเป็นผล
      - บทความขนาดยาว
      - ศัพท์และตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
      • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
      • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
      • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
      • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
      • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
      • C3: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่นและไทย
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      1. การบรรยายและฝึกอ่านประ โยคตัวอย่างในบทเรียน
      2. แบ่งกลุ่มฝึกสรุปใจความของบทความขนาดยาวและนำเสนอ
      3. จับเวลา 20 นาทีและให้เขียนความคิดเห็นเกี่ยว กับบทความขนาดยาวที่ได้อ่าน
      4. ทบทวนคำศัพท์และตัวอักษรคันจิ
      5. ฟังCD และฝึกอ่านออกเสียง

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      1. ประมวลรายวิชา
      2. เอกสารประกอบการบรรยาย
      3. แบบฝึกหัด
      4. แบบฟอร์มกระดาษเขียนเรียงความแบบญี่ปุ่นความยาว 400 ตัว
      5. แบบฝึกเขียนตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      6. CD
      14-15 - สำนวนการสรุปใจความอย่างเป็นเหตุเป็นผล
      - บทความขนาดยาว
      - ศัพท์และตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
      • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
      • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
      • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
      • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
      • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
      • C3: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่นและไทย
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      1. การบรรยายและฝึกอ่านประ โยคตัวอย่างในบทเรียน
      2. แบ่งกลุ่มฝึกสรุปใจความของบทความขนาดยาวและนำเสนอ
      4. จับเวลา 20 นาทีและให้เขียนความคิดเห็นเกี่ยว กับบทความขนาดยาวที่ได้อ่าน
      5. ทบทวนคำศัพท์และตัวอักษรคันจิ
      6. ฟังCD และฝึกอ่านออกเสียง

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      1. ประมวลรายวิชา
      2. เอกสารประกอบการบรรยาย
      3. แบบฝึกหัด
      4. แบบฟอร์มกระดาษเขียนเรียงความแบบญี่ปุ่นความยาว 400 ตัว
      5. แบบฝึกเขียนตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      6. CD
      16 - สำนวนการขอร้อง ตอบรับ หรือ ปฏิเสธ
      - บทความขนาดยาว
      - ศัพท์และตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
      • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
      • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
      • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
      • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
      • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและส้งคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักถึงวัฒนธรรมญี่ปุ่นเรื่องความเคร่งครัดในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
      • C3: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่นและไทย
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      1. การบรรยายและฝึกอ่านประ โยคตัวอย่างในบทเรียน
      2.แบ่งกลุ่มฝึกสรุปใจความของบทความขนาดยาวและนำเสนอ
      3. จับเวลา 20 นาทีและให้เขียนความคิดเห็นเกี่ยว กับบทความขนาดยาวที่ได้อ่าน
      4. ทบทวนคำศัพท์และตัวอักษรคันจิ
      5. ฟังCD และฝึกอ่านออกเสียง

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      1. ประมวลรายวิชา
      2. เอกสารประกอบการบรรยาย
      3. แบบฝึกหัด
      4. แบบฟอร์มกระดาษเขียนเรียงความแบบญี่ปุ่นความยาว 400 ตัว
      5. แบบฝึกเขียนตัวอักษรคันจิในบทเรียน
      6. CD
      รวมจำนวนชั่วโมง 48 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมในห้องเรียน และการทำแบบฝึกหัด
        10 ทุกสัปดาห์
        การบ้านและแบบฝึกหัด
        • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
        • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
        • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
        • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
        • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
        • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
        • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
        10 ทุกสัปดาห์
        การสอบย่อย สอบท้ายบท และการสอบอ่านเร็ว
        • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
        • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
        • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
        • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
        • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
        • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
        • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
        15 เริ่มจากสัปดาห์ที่ 2
        การสอบกลางภาค
        • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
        • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
        • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
        • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
        • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
        • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
        • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
        30 สัปดาห์ที่ 9
        การสอบปลายภาค
        • K1: นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นระดับสูง
        • K2: นักศึกษารู้และเข้าใจวิธีการอ่านและเขียนเรียงความที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
        • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ไวยากรณ์ที่เรียนมาอภิปรายในหัวข้อต่างๆ ได้
        • S1: นักศึกษาสามารถอ่านบทความขนาดยาวและเขียนความคิดเห็นที่มีต่อบทความได้
        • S2: นักศึกษาสามารถสื่อสารโต้ตอบแสดงความคิดเห็นด้วยประโยคภาษาญี่ปุ่นในระดับสูงได้
        • S3: นักศึกษาเข้าใจตัวอักษรคันจิระดับสูงได้มากขึ้น
        • S4: นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือใช้ในการติดต่อสื่อสารเป็นภาษาญี่ปุ่นได้
        35 สัปดาห์ที่ 17
        สัดส่วนคะแนนรวม 100
        9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
             Textbook and instructional materials
        ประเภทตำรา
        Type
        รายละเอียด
        Description
        ประเภทผู้แต่ง
        Author
        ไฟล์
        File
        หนังสือ หรือ ตำรา OYANAGI Noboru. (2002). New Approach Japanese Pre-Advanced Course. Tokyo: Nihongo Kenkyusha (In Japanese)
        ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือโปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน รัชนี ปิยะธำรงชัย.(2564). เอกสารประกอบการเรียนวิชา HS323106 ภาษาญี่ปุ่นกลาง 6. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น
        หนังสือ หรือ ตำรา TOMOMATSU Etsuko & WAKURI Masako. (2007). Chuukyuu Nihongo Bunpou Youten Seiri Pointo 20. Tokyo: 3A Corporation
        หนังสือ หรือ ตำรา มิซุทานิ, โอซามุ.(2539). ญี่ปุ่นเชิงข่าว.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
        หนังสือ หรือ ตำรา โคยามะ, ซาโตรุ.(2550). J bride พลิกสูตรการสื่อสารภาษาญี่ปุ่น.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
        แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ฝึกอ่านข่าวประจำวัน http://www.yomiuri.co.jp/
        แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ฝึกฟังข่าวประจำวัน http://www.nhk.or.jp/
        10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
             Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
        การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
        Evaluation of course effectiveness and validation
        • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
        • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
        การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
        Improving Course instruction and effectiveness
        • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
        • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
        ผลการเรียนรู้
        Curriculum mapping
        1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

        1. คุณธรรมและจริยธรรม
        1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
        1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
        1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
        1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
        2. ความรู้
        2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
        2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
        2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
        2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
        3. ทักษะทางปัญญา
        3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
        3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
        4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
        4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
        4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
        4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
        4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
        5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
        5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
        5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
        5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ