รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น
Japanese
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
การแนะนำรายวิชาและแรงจูงใจในการเรียน |
3 |
|
(ในห้องเรียน หรือ ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet, ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint ) -แนะนำรายวิชาและการประเมินผล -เมื่อมองย้อนกลับไปในบทเรียนของการอ่านการเขียน 1,2 และ 3 นักศึกษาจะตระหนักถึงสิ่งที่พวกเขาทำได้และไม่สามารถทำได้ในตอนนี้ในทักษะการอ่านและการเขียนของพวกเขา -ให้นักศึกษาคิดถึงเป้าหมายเฉพาะของตนเองในชั้นเรียนนี้และสิ่งที่ควรทำเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเหล่านั้น |
|
2-4 |
กลวิธีการอ่านและการเขียน①-การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลต่างๆ |
9 |
|
(ในห้องเรียน หรือ ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet, ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint ) -นักศึกษารู้และเข้าใจการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลต่างๆ -นักศึกษาฝึกการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลต่างๆ -นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ตัวเองวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลต่างๆ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|
5-7 |
กลวิธีการอ่านและการเขียน②-การวิเคราะน้ำเสียง ทัศนคติ การจูงใจ และวัตถุประสงค์ของผู้เขียน |
9 |
|
(ในห้องเรียน หรือ ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet, ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint ) -นักศึกษารู้และเข้าใจการวิเคราะห์น้ำเสียง ทัศนคติ การจูงใจ และวัตถุประสงค์ของผู้เขียน -นักศึกษาฝึกการวิเคราะห์น้ำเสียง ทัศนคติ การจูงใจ และวัตถุประสงค์ของผู้เขียน -นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ตัวเองวิเคราะห์น้ำเสียง ทัศนคติ การจูงใจ และวัตถุประสงค์ของผู้เขียน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|
8-12 | การเขียนความเรียงเชิงวิเคราะห์ | 15 |
|
(ในห้องเรียน หรือ ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet) -นักศึกษาเขียนความเรียงเชิงวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้ที่เรียนมาในบทก่อนหน้า(ทำ 2 สัปดาห์) -ร่วมกันแก้ไขความเรียงเชิงวิเคราะห์ครั้งที่แล้วให้ดีขึ้น(ทำ 3 สัปดาห์) |
|
13-15 |
นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ตัวเองเขียนความเรียงเชิงวิเคราะห์ |
9 |
|
(ในห้องเรียน หรือ ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet, ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint ) -นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ตัวเองเขียนความเรียงเชิงวิเคราะห์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น -นักศึกษาแก้ไขความเรียงเชิงวิเคราะห์ครั้งที่นำเสนอให้ดีขึ้น |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
ความตรงต่อเวลาและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมในห้องเรียน |
|
10 | สัปดาห์ที่ 1-15 |
แบบฝึกหัดและความเรียงเชิงวิเคราะห์ |
|
30 | สัปดาห์ที่ 2-12 |
การนำเสนอ |
|
20 | สัปดาห์ที่ 13-15 |
การสอบกลางภาค |
|
20 | เป็นไปตามปฏิทินการสอบกลางภาคของมหาวิทยาลัย |
การสอบปลายภาค |
|
20 | เป็นไปตามปฏิทินการสอบปลายภาคของมหาวิทยาลัย |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | Mari Tanaka, Shin Abe. (2014). Passport for Good Writing - Japanese writing that is conscious of the reader and composition. Tokyo : Kuroshio Publishing. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Nobuko Nitsu, Fujiko Sato. (2003). Revision on how to write logical sentences for exchange students. Tokyo : Three A Network. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Kazuyoshi Fukuzawa. (2012). Bunshou-o Ronri-de Yomitoku-tame-no Critical Reading. Tokyo : NHK Shuppan. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Nobuko NITSU, Masami KADOKURA & Hiroko SATO. (2012). 30 Exiciting Texts: An Anthology for Advanced Learners of Japanese. Tokyo : University of Tokyo Press. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ