Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS703402
ภาษาไทย
Thai name
การแปลภาษาไทยเป็นภาษาตะวันตก
ภาษาอังกฤษ
English name
THAI TRANSLATION INTO WESTERN LANGUAGES
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS703401#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชวาล ศรีทอง
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชวาล ศรีทอง
    • อาจารย์Michel Charles Rochat
    • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
    • อาจารย์อาทิตย์ จิตรโท
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาวิชาการแปล
    • 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการแปลผิดพลาด
    • 3. มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปล
    • 4. มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • 1. มีความสามารถในการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • 2. สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • 3. มีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น รวมถึงมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้
    • 4. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่องที่นำเสนอและเหมาะสม
    • 5. สามารถใช้ทักษะการแปลในเชิงวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • 1. ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางบุคคล สังคมและวัฒนธรรม
    • 2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • 3. เป็นนักแปลที่มีจรรยาบรรณในการแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ปัญหาการแปล การฝึกแปลบทความจากนิตยสารและหนังสือพิมพ์ และบทอ่านงานวรรณกรรม จากภาษาไทยเป็นภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน หรือภาษาสเปน
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Problems of translation, translation practice of articles from magazines and newspapers and literary passages from Thai into French, German, Spanish
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 -แนะนำรายวิชา วิธีการการเรียนการสอน วิธีการวัดและประเมินผล
    -กิจกรรม Warm-up
    -ทบทวนความรู้เดิม
    3
    • K1: 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาวิชาการแปล
    • K2: 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการแปลผิดพลาด
    • K3: 3. มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปล
    • K4: 4. มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • S1: 1. มีความสามารถในการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S2: 2. สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • S3: 3. มีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น รวมถึงมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้
    • S4: 4. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่องที่นำเสนอและเหมาะสม
    • S5: 5. สามารถใช้ทักษะการแปลในเชิงวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: 1. ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางบุคคล สังคมและวัฒนธรรม
    • C2: 2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • C3: 3. เป็นนักแปลที่มีจรรยาบรรณในการแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
    1.บรรยายแนะนำแนวทางการเรียนการสอน
    2.แนะนำเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอนต่างๆ ที่จะใช้ในวิชา
    3. กิจกรรมตอบคำถาม
    4. การแสดงความคิดเห็นและ Brainstorm
    5. แบบฝึกหัดก่อนเรียน

    หนังสือ หรือ ตำรา
    หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์

    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    Google Classroom
    2-5 หัวข้อที่ 1 หลักการแปล ทฤษฎีการแปล ข้อปฏิบัติการแปล และวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการแปล
    (เรียนรวมทั้งสามวิชาเอก)
    1.1 องค์ประกอบเกี่ยวกับการแปล
    1.2 นิยามและแนวคิดเกี่ยวกับการแปล
    1.3 ความเทียบเท่าในการแปล
    1.4 ขั้นตอนในการแปล
    1.5 ชนิดของการแปล
    1.6 เทคนิคการแปล
    1.7 วัฒนธรรมและสังคมที่มีผลต่อการแปล
    1.8 ตัวบทการแปล
    1.9 จรรยาบรรณนักแปล
    12
    • K1: 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาวิชาการแปล
    • K2: 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการแปลผิดพลาด
    • K3: 3. มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปล
    • K4: 4. มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • S1: 1. มีความสามารถในการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S2: 2. สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • S3: 3. มีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น รวมถึงมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้
    • S4: 4. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่องที่นำเสนอและเหมาะสม
    • S5: 5. สามารถใช้ทักษะการแปลในเชิงวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: 1. ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางบุคคล สังคมและวัฒนธรรม
    • C2: 2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • C3: 3. เป็นนักแปลที่มีจรรยาบรรณในการแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
    1. การบรรยาย
    2. การทำกิจกรรมกลุ่ม
    3.การอภิปรายกลุ่มย่อย
    4. การนำเสนอระหว่างกลุ่ม
    5.วิเคราะห์ตัวอย่างงานแปล
    6.ฝึกปฎิบัติแปล
    7.แบบฝึกหัดก่อนและหลังเรียน

    หนังสือ หรือ ตำรา
    หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    YouTube

    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    Google Classroom
    6-8 หัวข้อที่ 2 การแปลบทความนิตยสารภาษาไทยเป็นภาษาฝรั่งเศสหรือสเปนหรือเยอรมัน
    (สัปดาห์ที่ 6-15 แยกเรียนแต่ละภาษา)
    2.1แปลข้อความจากบทความในนิตยสารระดับประโยคและย่อหน้า
    2.2 ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างระหว่างภาษาต้นฉบับและภาษาแปล
    2.3 ลักษณะภาษาของนิตยสาร
    2.4 ปัญหาและสิ่งพึงระวังในการแปลภาษานิตยสาร
    2.5 เทคนิคเพิ่มเติมในการแปลภาษานิตยสาร
    9
    • K1: 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาวิชาการแปล
    • K2: 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการแปลผิดพลาด
    • K3: 3. มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปล
    • K4: 4. มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • S1: 1. มีความสามารถในการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S2: 2. สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • S3: 3. มีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น รวมถึงมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้
    • S4: 4. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่องที่นำเสนอและเหมาะสม
    • S5: 5. สามารถใช้ทักษะการแปลในเชิงวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: 1. ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางบุคคล สังคมและวัฒนธรรม
    • C2: 2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • C3: 3. เป็นนักแปลที่มีจรรยาบรรณในการแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
    1. การบรรยาย
    2. การทำกิจกรรมกลุ่ม
    3.การอภิปรายกลุ่มย่อย
    4. การนำเสนอระหว่างกลุ่ม
    5.วิเคราะห์ตัวอย่างงานแปล
    6.ฝึกปฎิบัติแปล
    7.มอบหมายค้นคว้า

    หนังสือ หรือ ตำรา
    หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    YouTube

    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    Google Classroom
    9-11 หัวข้อที่ 3 การแปลภาษาหนังสือพิมพ์ภาษาไทยเป็นภาษาฝรั่งเศสหรือสเปนหรือเยอรมัน
    3.1 แปลข้อความจากหนังสือพิมพ์ระดับประโยคและย่อหน้า
    3.2 ลักษณะสำคัญของภาษาในหนังสือพิมพ์
    3.3 การตีความการใช้ภาษาและการเลือกใช้คำในภาษาแปล
    3.4 ปัญหาและสิ่งพึงระวังในการแปลภาษาหนังสือพิมพ์
    3.5 เทคนิคเฉพาะในการแปลภาษาหนังสือพิมพ์
    9
    • K1: 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาวิชาการแปล
    • K2: 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการแปลผิดพลาด
    • K3: 3. มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปล
    • K4: 4. มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • S1: 1. มีความสามารถในการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S2: 2. สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • S3: 3. มีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น รวมถึงมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้
    • S4: 4. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่องที่นำเสนอและเหมาะสม
    • S5: 5. สามารถใช้ทักษะการแปลในเชิงวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: 1. ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางบุคคล สังคมและวัฒนธรรม
    • C2: 2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • C3: 3. เป็นนักแปลที่มีจรรยาบรรณในการแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
    1. การบรรยาย
    2. การทำกิจกรรมกลุ่ม
    3.การอภิปรายกลุ่มย่อย
    4. การนำเสนอระหว่างกลุ่ม
    5.วิเคราะห์ตัวอย่างงานแปล
    6.ฝึกปฎิบัติแปล
    7.มอบหมายค้นคว้า

    หนังสือ หรือ ตำรา
    หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    YouTube

    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    Google Classroom
    12-14 หัวข้อที่ 4 การแปลภาษาวรรณกรรมจากภาษาไทยเป็นฝรั่งเศสหรือสเปนหรือเยอรมัน
    4.1 แปลข้อความจากวรรณกรรมทั้งในระดับประโยคและย่อหน้า
    4.2 ลักษณะของภาษาวรรณกรรม
    4.3 การตีความการใช้ภาษาและการเลือกใช้คำในภาษาแปล
    4.4 ปัญหาและสิ่งพึงระวังในการแปลภาษาวรรณกรรม
    4.5 เทคนิคเฉพาะในการแปลภาษาวรรณกรรม
    4.6 การเทียบเคียงประเด็นทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ที่ปรากฏในภาษาวรรณกรรม
    9
    • K1: 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาวิชาการแปล
    • K2: 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการแปลผิดพลาด
    • K3: 3. มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปล
    • K4: 4. มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • S1: 1. มีความสามารถในการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S2: 2. สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • S3: 3. มีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น รวมถึงมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้
    • S4: 4. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่องที่นำเสนอและเหมาะสม
    • S5: 5. สามารถใช้ทักษะการแปลในเชิงวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: 1. ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางบุคคล สังคมและวัฒนธรรม
    • C2: 2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • C3: 3. เป็นนักแปลที่มีจรรยาบรรณในการแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
    1. การบรรยาย
    2. การทำกิจกรรมกลุ่ม
    3.การอภิปรายกลุ่มย่อย
    4. การนำเสนอระหว่างกลุ่ม
    5.วิเคราะห์ตัวอย่างงานแปล
    6.ฝึกปฎิบัติแปล
    7.มอบหมายค้นคว้า

    หนังสือ หรือ ตำรา
    หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    YouTube

    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    Google Classroom
    15 ทบทวน สรุป อภิปรายเนื้อหาการเรียนการสอน และการนำเสนอผลงาน 3
    • K1: 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาวิชาการแปล
    • K2: 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการแปลผิดพลาด
    • K3: 3. มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปล
    • K4: 4. มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • S1: 1. มีความสามารถในการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S2: 2. สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • S3: 3. มีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น รวมถึงมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้
    • S4: 4. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่องที่นำเสนอและเหมาะสม
    • S5: 5. สามารถใช้ทักษะการแปลในเชิงวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: 1. ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางบุคคล สังคมและวัฒนธรรม
    • C2: 2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • C3: 3. เป็นนักแปลที่มีจรรยาบรรณในการแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
    1. ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    2. ซักถาม อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    3. แบบฝึกหัดหลังเรียน

    หนังสือ หรือ ตำรา
    หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์

    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    Google Classroom
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน
    • K1: 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาวิชาการแปล
    • K2: 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการแปลผิดพลาด
    • K3: 3. มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปล
    • K4: 4. มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • S1: 1. มีความสามารถในการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S2: 2. สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • S3: 3. มีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น รวมถึงมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้
    • S4: 4. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่องที่นำเสนอและเหมาะสม
    • S5: 5. สามารถใช้ทักษะการแปลในเชิงวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: 1. ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางบุคคล สังคมและวัฒนธรรม
    • C2: 2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • C3: 3. เป็นนักแปลที่มีจรรยาบรรณในการแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
    10
    การนำเสนอและรูปเล่มโครงงานแปล
    • K1: 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาวิชาการแปล
    • K2: 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการแปลผิดพลาด
    • K3: 3. มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปล
    • K4: 4. มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • S1: 1. มีความสามารถในการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S2: 2. สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • S3: 3. มีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น รวมถึงมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้
    • S4: 4. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่องที่นำเสนอและเหมาะสม
    • S5: 5. สามารถใช้ทักษะการแปลในเชิงวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: 1. ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางบุคคล สังคมและวัฒนธรรม
    • C2: 2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • C3: 3. เป็นนักแปลที่มีจรรยาบรรณในการแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
    40
    การสอบเก็บคะแนน
    • K1: 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาวิชาการแปล
    • K2: 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการแปลผิดพลาด
    • K3: 3. มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปล
    • K4: 4. มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • S1: 1. มีความสามารถในการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S2: 2. สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • S3: 3. มีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น รวมถึงมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้
    • S4: 4. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่องที่นำเสนอและเหมาะสม
    • S5: 5. สามารถใช้ทักษะการแปลในเชิงวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: 1. ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางบุคคล สังคมและวัฒนธรรม
    • C2: 2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • C3: 3. เป็นนักแปลที่มีจรรยาบรรณในการแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
    25
    การสอบปลายภาค
    • K1: 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาวิชาการแปล
    • K2: 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการแปลผิดพลาด
    • K3: 3. มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมที่มีผลต่อการแปล
    • K4: 4. มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ เพื่อการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาและเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • S1: 1. มีความสามารถในการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S2: 2. สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    • S3: 3. มีทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น รวมถึงมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้
    • S4: 4. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับเรื่องที่นำเสนอและเหมาะสม
    • S5: 5. สามารถใช้ทักษะการแปลในเชิงวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    • E2: มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: 1. ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางบุคคล สังคมและวัฒนธรรม
    • C2: 2. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    • C3: 3. เป็นนักแปลที่มีจรรยาบรรณในการแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่ง
    25
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    เอกสารประกอบการสอน ชัชวาล ศรีทอง, กันตพงศ์ จิตกล้า และสิริวรรณ เปรมจิตปิยะพันธ์.(2562) เอกสารประกอบการสอนการแปลภาษาไทยเป็นภาษาตะวันตก. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (เอกสารอัดสำเนา)
    หนังสือ หรือ ตำรา ตำราเสริม
    - ปัญญา บริสุทธิ์. (2542). ทฤษฎีและวิธีปฏิบัติในการแปล. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน
    - รัชนีโรจน์ กุลธำรง. (2552). ความรู้ความเข้าใจเรื่องภาษาเพื่อการแปลจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. Understanding Language to Translate: from theories to practice. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    - วัลยา วิวัฒน์ศร. (2547). การแปลวรรณกรรม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาตะวันตก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    - วิษณุ กอปรสิริพัฒน์. (2548). การแปลตามหลักภาษาศาสตร์. มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
    - สัญฉวี สายบัว. (2553). หลักการแปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    - สุพรรณี ปิ่นมณี. (2554). การแปลขั้นสูง.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    - Hurtado Albir, A. 2013 (2001). Traducción y traductología. Introducción a la traductología. Madrid: Ediciones Cátedra
    - Munday, J. 2008 (2001). Introducing Translation Studies. London and New York: Rutledge.
    - Nord, C. (1997). Translating as a Purposeful Activity. Functionalist Approaches Explained. Manchester: St. Jerome Publishing
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้ ดังนี้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

    3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

    5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ