Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส
French
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS731105
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษ
English name
FRENCH FOR COMMUNICATION IN EVERYDAY LIFE
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS731103#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
  • เลือกเสรี (Free elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์วรรณฤดี คุระวรรณ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์วรรณฤดี คุระวรรณ
    • อาจารย์ทิพย์ลดา อินทำ
    • อาจารย์สุปรียา ป้องเรือ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาบอกความหมายคำศัพท์ สำนวนและเลือกโครงสร้างไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศส และวัฒนธรรมฝรั่งเศสอันเป็นส่วนหนึ่งของปัจจัยสำหรับการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเข้าเรียน มีความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน พร้อมทั้งสามารถเรียนร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสมัครสมานสามัคคีและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ศัพท์ สำนวน และโครงสร้างไวยากรณ์ในระดับที่สูงขึ้น สำหรับการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
      ภาษาอังกฤษ
      English
      More advanced Vocabulary, expressions and grammar for communication in everyday life
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Online learning
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Content and language integrated learning
      • Task-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 -แนะนำรายวิชาวิธีการเรียนการสอน วิธีการวัดและประเมินผล
      -ทบทวนความรู้ภาษาฝรั่งเศสที่นักศึกษาได้เรียนมาก่อนหน้านี้ในภาคการศึกษาที่ 1
      1.5
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเข้าเรียน มีความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน พร้อมทั้งสามารถเรียนร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสมัครสมานสามัคคีและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - ชี้แจงรายวิชา หัวข้อสำคัญต่างๆ ที่ต้องเรียนรู้ รูปแบบกิจกรรมที่จะถูกใช้ในชั้นเรียน ให้นักศึกษาร่วมกันตั้งข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับกฎระเบียบต่างๆในชั้นเรียน
      -นักศึกษาทำแบบฝึกหัดทบทวนความรู้เดิม

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      - แบบ มคอ. 3 และคำชี้แจงรายวิชา
      - แบบฝึกหัดทบทวนความรู้
      1-3 การถามตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ทำเป็นกิจวัตรประจำวัน
      - การเล่าเหตุการณ์ในอดีต
      7.5
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเข้าเรียน มีความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน พร้อมทั้งสามารถเรียนร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสมัครสมานสามัคคีและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - ชี้แจงวัตถุประสงค์ประจำบทเรียนและสิ่งที่จะได้รับ
      - บรรยายรูปแบบการประโยคคำถาม คำตอบเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน
      - บรรยายรูปแบบกริยาที่ใช้เล่าเหตุการณ์ในอดีต

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      -Power Point
      4-6 การบอกห้าม หรืออนุญาต
      - การบอกสิ่งที่มีความเป็นไปได้ และที่ต้องทำ
      -การผันและการใช้กริยา pouvoir vouloir savoir
      9
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเข้าเรียน มีความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน พร้อมทั้งสามารถเรียนร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสมัครสมานสามัคคีและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - ชี้แจงวัตถุประสงค์ประจำบทเรียนและสิ่งที่จะได้รับ
      - บรรยายเกี่ยวกับคำศัพท์ สำนวนที่ใช้ในการบอกอนุญาตหรือห้าม
      - แบ่งกลุ่มแสดงบทบาทสมมุติ โดยให้มีการใช้ประโยคที่บอกความเป็นไปได้ หรือ ที่จำเป็นต้องทำ
      -แบ่งกลุ่มวิเคราะห์รูปแบบและการใช้กริยา pouvoir vouloir savoir

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      -Power Point
      7-9 คำสรรพนามกรรมตรงบุรุษที่ 3 (le, la, l’, les)
      - คำสรรพนามกรรมรองบุรุษที่ 3 (lui, leur)
      - การผันคำกริยา connaître
      9
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเข้าเรียน มีความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน พร้อมทั้งสามารถเรียนร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสมัครสมานสามัคคีและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - ชี้แจงวัตถุประสงค์ประจำบทเรียนและสิ่งที่จะได้รับ
      - แบ่งกลุ่มให้นักศึกษาสังเกตและหาข้อสรุปเกี่ยวกับการใช้สรรพนาม คำสรรพนามกรรมตรงบุรุษที่ 3 (le, la, l’, les) และคำสรรพนามกรรมรองบุรุษที่ 3 (lui, leur)
      - แบ่งกลุ่มวิเคราะห์รูปแบบและการใช้กริยา connaître

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      -Power Point
      - ใบงาน
      -บัตรเกมส์
      10-12 การแสดงความคิดเห็น
      - การแสดงข้อโต้แย้ง
      - การบอกสิ่งที่ชอบหรือไม่ชอบ
      - การผันคำกริยาในกลุ่ม Pronominauxในประโยคคำสั่ง
      9
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเข้าเรียน มีความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน พร้อมทั้งสามารถเรียนร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสมัครสมานสามัคคีและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - ชี้แจงวัตถุประสงค์ประจำบทเรียนและสิ่งที่จะได้รับ
      -จับคู่นักศึกษาแสดงบทบาทสมมุติแสดงความคิดเห็นถามเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำยามว่าง หรือชอบทำหรือไม่ชอบทำแตกต่างกัน
      - ทำแบบฝึกหัดผันคำกริยา Pronominauxในประโยคคำสั่ง

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      -Power Point
      13-15 -การเล่าเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้นและสิ้นสุดลงโดยใช้กริยา venir de + v.infinitif
      - การเลือกใช้กริยา temps passé composé และ imparfait ในการเล่าเหตุการณ์ในอดีต

      7.5
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเข้าเรียน มีความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน พร้อมทั้งสามารถเรียนร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสมัครสมานสามัคคีและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - ชี้แจงวัตถุประสงค์ประจำบทเรียนและสิ่งที่จะได้รับ
      - แบ่งกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับตัวอย่างการใช้คำกริยา venir de
      - จับคู่นักศึกษาแสดงบทบาทสมมุติถามตอบเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำในอดีต
      - นักศึกษาทำแบบฝึกหัด

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      - เอกสารประกอบการสอน
      -Power Point
      15 ทบทวนและประมวลเนื้อหาจากที่เรียนมา และสิ่งที่ได้จากบทเรียนทั้งหมด สิ่งที่ชอบหรือไม่ชอบในรายวิชาพร้อมข้อเสนอแนะ 1.5
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      • C1: นักศึกษามีความรับผิดชอบในการเข้าเรียน มีความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน พร้อมทั้งสามารถเรียนร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสมัครสมานสามัคคีและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
      กิจกรรมการเรียนการสอน
      - นักศึกษาสรุปเนื้อหาคร่าวๆของบทเรียนทั้งหมดเพื่อทบทวนความเข้าใจ และสิ่งที่นักศึกษาได้จากบทเรียน
      - สอบถามข้อสงสัยในหัวข้อต่างๆ

      สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      -บรรยาย
      -อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การสังเกตการมีส่วนร่วมในห้องเรียน การตอบคำถาม แสดงความคิดเห็นทั้งกับเพื่อนร่วมชั้นและอาจารย์ประจำวิชา
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      5
      การบ้านและกิจกรรมในชั้นเรียน
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      20
      ทดสอบย่อย
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      15
      ทดสอบหนังสืออ่านนอกเวลา
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      10
      การสอบกลางภาคและปลายภาค
      • S1: นักศึกษามีทักษะการสื่อสารทั้ง 4 ทักษะคือฟัง พูด อ่านและเขียน ในระดับเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง
      50
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา Capelle, G. et Menard, R. (2009). Le Nouveau Taxi ! 1 Méthode de français. Paris : Hachette.
      หนังสือ หรือ ตำรา Capelle, G. et Menard, R. (2009). Le Nouveau Taxi ! 1 Méthode de français Cahier d’exercices. Paris : Hachette.
      หนังสือ หรือ ตำรา Poisson-Quinton, S. (2015). La grammaire sans problème ! : Des leçons simples et des exercices pour adolescents. Paris : Maison des Langues.
      หนังสือ หรือ ตำรา Mimran, R. (2006). Vocabulaire expliqué du français. Paris : CLE International.
      หนังสือ หรือ ตำรา Mimran, R. (2006). Vocabulaire expliqué du français Cahier d’exercices. Paris : CLE International.
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

      1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

      2. ด้านความรู้ ดังนี้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
      2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
      2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

      3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้

      4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
      4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

      5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
      5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ