รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส
French
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-4 |
- แนะนำรายวิชา ชี้แจงแนวปฏิบัติสำหรับการเรียนและการทำงาน - ศึกษาประเด็นสำคัญของสังคมของชุมชนมหาวิทยาลัยขอนแก่น - ฝึกวิเคราะห์คำศัพท์ไทย-ฝรั่งเศสและการสื่อความหมาย - เทคนิคการเรียบเรียงคำพูดเพื่อการนำเสนอประเด็น - การใช้คำศัพท์และสำนวนเพื่อแสดงความคิดเห็น การเห็นพ้อง การโต้แย้ง การสรุประเด็น - การใช้สื่อดิจิทัลในการนำเสนอ Youtube / Blog |
12 |
|
- บรรยาย อภิปราย - ศึกษาข้อมูลจาก KKU Group / ใต้เตียง มข. / Khon Kaen link - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์และสำนวนภาษาไทย-ฝรั่งเศสและการตีความ - เรียบเรียงเรียบเรียงความคิดที่จะนำเสนอเป็นภาษาฝรั่งเศส โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีจากคู่มือที่รวบรวมไว้ใน Google classroom - ส่งให้ผู้สอนตรวจทานแก้ไขภาษา - จัดการนำเสนอและอภิปราย |
|
5-8 |
-แนะนำรายวิชา ชี้แจงแนวปฏิบัติสำหรับการเรียนและการทำงาน - ศึกษาประเด็นสำคัญของเศรษฐกิจของประเทศฝรั่งเศสและไทย - ฝึกวิเคราะห์คำศัพท์ไทย-ฝรั่งเศสและการสื่อความหมาย - เทคนิคการเรียบเรียงคำพูดเพื่อการนำเสนอประเด็น - การใช้คำศัพท์และสำนวนเพื่อแสดงความคิดเห็น การเห็นพ้อง การโต้แย้ง การสรุประเด็น - การใช้สื่อดิจิทัลในการนำเสนอ Youtube / Blog |
12 |
|
- บรรยาย อภิปราย - ศึกษาข้อมูลจากเว็บไซต์ 20 minutes / LeFigaro / Gavroche / LePoint - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์และสำนวนภาษาไทย-ฝรั่งเศสและการตีความ - เรียบเรียงเรียบเรียงความคิดที่จะนำเสนอเป็นภาษาฝรั่งเศส โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีจากคู่มือที่รวบรวมไว้ใน Google classroom - ส่งให้ผู้สอนตรวจทานแก้ไขภาษา - จัดการนำเสนอและอภิปราย |
|
9-12 |
-แนะนำรายวิชา ชี้แจงแนวปฏิบัติสำหรับการเรียนและการทำงาน - ศึกษาประเด็นสำคัญการเคลื่อนไหวทางการเมืองของประเทศฝรั่งเศสและไทย - ฝึกวิเคราะห์คำศัพท์ไทย-ฝรั่งเศสและการสื่อความหมาย - เทคนิคการเรียบเรียงคำพูดเพื่อการนำเสนอประเด็น - การใช้คำศัพท์และสำนวนเพื่อแสดงความคิดเห็น การเห็นพ้อง การโต้แย้ง การสรุประเด็น - การใช้สื่อดิจิทัลในการนำเสนอ Youtube / Blog |
12 |
|
- บรรยาย อภิปราย - ศึกษาข้อมูลจากเว็บไซต์ LeFigaro / Gavroche / LePoint - ศึกษาข้อมูลจากบทความวิจารณ์การเมืองในสิ่งพิมพ์ - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์และสำนวนภาษาไทย-ฝรั่งเศสและการตีความ - เรียบเรียงเรียบเรียงความคิดที่จะนำเสนอเป็นภาษาฝรั่งเศส โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีจากคู่มือที่รวบรวมไว้ใน Google classroom - ส่งให้ผู้สอนตรวจทานแก้ไขภาษา - จัดการนำเสนอและอภิปราย |
|
13-15 |
- นำเสนอและอภิปรายในประเด็นที่จับฉลากได้ - ทบทวนรายวิชา และเลือกข้อในการนำเสนอและอภิปรายสำหรับการสอบปลายภาค |
9 |
|
- ศึกษาข้อมูลจากเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่จับฉลากได้ - ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากสิ่งพิมพ์หรือเอกสารอ้างอิงอื่นๆ - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับคำศัพท์และสำนวนภาษาไทย-ฝรั่งเศสและการตีความ - เรียบเรียงเรียบเรียงความคิดที่จะนำเสนอเป็นภาษาฝรั่งเศส โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีจากคู่มือที่รวบรวมไว้ใน Google classroom - ส่งให้ผู้สอนตรวจทานแก้ไขภาษา - จัดการนำเสนอและอภิปราย |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
10 | |
การนำเสนอ การอภิปรายในประเด็นที่ได้รับมอบหมาย งานกลุ่ม |
|
60 |
จะมีการนำเสนอและการอภิปรายจำนวน 4 ครั้ง หลังจากการเรียนภาคทฤษฎี โดยนำเสนอในสัปดาห์ที่ 3, 8, 12 และ 14 |
สอบปลายภาค |
|
30 |
นักศึกษาต้องแจ้งหัวข้อที่จะนำเสนอในการอภิปรายในสัปดาห์ที่ 15 และนำเสนอการอภิปรายผ่านระบบ Zoom ในสัปดาห์ที่ 2 ของการสอบปลายภาค |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | Gerard Barbottin. (2003). Rédiger des textes techniques et scientifiques en francais et en anglais. Éditeur Juliet. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Philippe-Jean Quilien. (2015).150 questions incontournables à l'oral. Éditions ELLIPSES. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Bernard Blein. (2020).Parler en public - Tout pour être à l'aise à l'oral : entretiens d'embauche, examens, réunions professionnelles. Paris : Larousse. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Stephanie Holleville. (2021). Débattre en FLE (français langue étrangère) - Toutes les clés pour argumenter et exprimer son opinion. Éditions ELLIPSES. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Nicole Borelli. (2015). FLE (francais langue etrangere) ; 150 expressions francaises illustrees et expliquees mini-dialogue Niveau B1-B2. Éditions ELLIPSES. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
YouTube |
CAMPUS FRANCE : RÉUSSIR SON ENTRETIEN : C'EST QUOI VOTRE PROJET PROFESSIONNEL ? + des exemplaires https://www.youtube.com/watch?v=Ha5rb7FflvE |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
YouTube |
Exemple de réalisation d'un storytelling pour la présentation d'un parcours professionnel. https://www.youtube.com/watch?v=2aGnP70yO_4 |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
YouTube |
Débattre - Tutoriel vidéo pour maîtriser l'oral https://www.youtube.com/watch?v=c4n3g2r_NAo |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
YouTube |
La prise de parole en public - partie 1 : posture, gestuelle, gestion de l'espace https://www.youtube.com/watch?v=ZQNBfE85n2s |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้ ดังนี้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ