รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2565
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
แนะนำรายวิชาและข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน 1. ความรู้เกี่ยวกับความหมายของวัฒนธรรมอีสานศึกษา 1.1 ความหมายของวัฒนธรรมอีสาน 1.2 โครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรมอีสาน 1.3 ภูมิศาสตร์อีสาน |
3 |
|
บรรยาย เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับความหมายของวัฒนธรรมอีสานศึกษา โครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรมอีสาน และภูมิศาสตร์อีสาน ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
2-3 |
2.พัฒนาการประวัติศาสตร์อีสาน 2.1 ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสานล้านช้าง 2.2 อีสานล้านช้างในบริบทความสัมพันธ์ทางการเมืองสยาม 2.3 อีสานในบริบทความทันสมัยของของประเทศไทย 2.4 อีสานในบริบทแผนพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความทันสมัย |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง พัฒนาการประวัติศาสตร์อีสาน หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
4-5 |
3. ชาติพันธุ์ในสังคมอีสาน 3.1 ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในสังคมอีสาน 3.2 ความเป็นรัฐชาติกับการดำเนินนโยบายทางชาติพันธุ์ในอีสาน 3.4 นโยบายทางการศึกษาของชาติกับสถานการณ์ทางภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในอีสาน 3.5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกับการปรับเปลี่ยนวิถีวัฒนธรรมและการสูญเสียอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในอีสาน 3.6 บริบทการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์กับการนำเสนออัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ในอีสาน |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง ชาติพันธุ์ในสังคมอีสาน หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
6-7 |
4. ฮีตคองและภูมิปัญญาอีสาน 4.1 ฮีต 12 คอง 14 4.2 โลกทัศน์และชีวทัศน์อีสาน 4.3 ภูมิปัญญาอีสาน |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง ฮีตคองและภูมิปัญญาอีสาน ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน โปรแกรมวีดีทัศน์ ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
8-9 |
5. ภาษาและวรรณกรรมอีสาน 5.1 พัฒนาการอักษรท้องถิ่นอีสานในบริบทการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง 5.2 หนังสืออีสาน : สถาบันกับการกำหนดสถานะทางสังคมของวรรณกรรมท้องถิ่นอีสาน 5.3 ภาพยนตร์ : เรื่องเล่ากับการเล่าเรื่องในสื่อสมัยใหม่ |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง ภาษาและวรรณกรรมอีสาน ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา ภาษาและวรรณกรรมอีสาน ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
10-12 |
6. แนวทางการศึกษาและประเด็นการวิจัยวัฒนธรรมอีสาน 6.1 สถานภาพการศึกษาวิจัยวัฒนธรรมอีสาน 6.2 วิธีวิทยาอีสานศึกษา |
9 |
|
บรรยาย เรื่อง แนวทางการศึกษาและประเด็นการวิจัยวัฒนธรรมอีสาน ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
13 |
7. ประเด็นการวิจัย 7.1 การพัฒนาโจทย์การวิจัยวัฒนธรรมอีสาน 7.2 เครื่องมือทางความคิดในการวิจัยวัฒนธรรมอีสาน 7.3 กรอบคิดและวิธีวิทยา |
3 |
|
บรรยาย เรื่อง แนวทางการศึกษาและประเด็นการวิจัยวัฒนธรรมอีสาน ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา หนังสือ หรือ ตำรา บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
14-15 | 8.การนำเสนอผลการศึกษาวัฒนธรรมอีสาน | ุ6 |
|
นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาวิจัยประเด็นทางวัฒนธรรมอีสาน บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 39 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม งานเดี่ยว งานกลุ่ม สอบกลางภาค สอบปลายภาค |
|
20/20/20/20/20 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 0 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
แก้วตา จันทรานุสรณ์ และคณะ. 2559. วรรณกรรมอีสาน : "ตัวบท" ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น แก้วตา จันทรานุสรณ์ และคณะ. 2565. จากแก่นขอนถึงคอนสาร : เลียบเลาะเส้นทางมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอาหารและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น แก้วตา จันทรานุสรณ์ และคณะ. 2565. หมอพื้นบ้าน : จักรวาลวิทยาของระบบสุขภาวะ และการอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมท้องถิ่นอีสาน. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
อาจารย์ภายในคณะ |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้