รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
1. แนะนำรายละเอียดรายวิชา คำอธิบายรายวิชา วัตถุประสงค์ 2. แจ้งแผนการสอนและข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับ ระเบียบในห้องเรียนและเกณฑ์การประเมินผล 3. ระดมสมองเพื่อหาแนวทางจัดการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ |
3 |
|
อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ในห้องเรียน |
|
2-3 |
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม 1.ความหมายของวรรณกรรม 2.องค์ประกอบของวรรณกรรม 3.ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับชีวิต |
ุ6 |
|
บรรยาย เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ในห้องเรียน |
|
4-5 | แนวคิดเบื้องต้นและทฤษฎีการวิเคราะห์วรรณกรรมแนวต่าง ๆ | 6 |
|
บรรยาย เรื่องแนวคิดเบื้องต้นและทฤษฎีการวิเคราะห์วรรณกรรมแนวต่าง ๆ อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ในห้องเรียน |
|
6-7 |
ประวัติความเป็นมาของวรรณกรรมตะวันออก 1.บริบทพื้นที่ 2.ลักษณะของวรรณกรรมตะวันออก 3.ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมตะวันออกกับวรรณกรรมไทย |
ุ6 |
|
บรรยาย เรื่องประวัติความเป็นมาของวรรณกรรมตะวันออก ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น บทวิจัย หรือบทความวิชาการ โปรแกรมวีดีทัศน์ ในห้องเรียน |
|
8-9 |
ลักษณะเด่นของวรรณกรรมตะวันออก 1.รูปแบบของวรรณกรรมตะวันออก 2.เนื้อหาของวรรณกรรมตะวันออก 3.แนวคิดในวรรณกรรมตะวันออก |
ุ6 |
|
บรรยาย เรื่องลักษณะเด่นของวรรณกรรมตะวันออก บทวิจัย หรือบทความวิชาการ อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โปรแกรมวีดีทัศน์ ในห้องเรียน |
|
10-11 |
การวิเคราะห์วรรณกรรมตะวันออกคัดสรร : ประเทศจีน 1.รูปแบบ 2.เนื้อหา 3.แนวคิด 4.คุณค่า |
ุ6 |
|
อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา โปรแกรมวีดีทัศน์ ในห้องเรียน |
|
12-13 |
การวิเคราะห์วรรณกรรมตะวันออกคัดสรร : ประเทศญี่ปุ่น/เกาหลี 1.รูปแบบ 2.เนื้อหา 3.แนวคิด 4.คุณค่า |
ุ6 |
|
อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา โปรแกรมวีดีทัศน์ ในห้องเรียน |
|
14-15 |
การวิเคราะห์วรรณกรรมตะวันออกคัดสรร : ประเทศอินเดีย 1.รูปแบบ 2.เนื้อหา 3.แนวคิด 4.คุณค่า |
ุ6 |
|
อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา โปรแกรมวีดีทัศน์ ในห้องเรียน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 9 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
20 | |
งานเดี่ยว |
|
20 | |
สอบกลางภาค |
|
30 | |
สอบปลายภาค |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | บัวริน วังคีรี. (2556). วรรณกรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. เชียงใหม่ : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | จักรกฤษณ์ ดวงพัตรา. (2561). บทละครแปล มหาภารตะ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนาโครงการจัดพิมพ์คบไฟ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | คึกฤทธิ์ ปราโมช. (2548). ราโชมอน. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์ | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | คึกฤทธิ์ ปราโมช. (2555). ซูสีไทเฮา. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า 2000. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อรรถยา สุวรรณระดา. (2562). ประวัติวรรณคดีญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ