Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2565
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS287701
ภาษาไทย
Thai name
การวิจัยและสัมมนาทางสารสนเทศศึกษา
ภาษาอังกฤษ
English name
Research and Seminar in Information Studies
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
4(4-0-8)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กันยารัตน์ เควียเซ่น
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กันยารัตน์ เควียเซ่น
    • ศาสตราจารย์ดุษฎี อายุวัฒน์
    • ศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้
    • นักศึกษาสามารถเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมกับข้อมูลแต่ละประเภทได้
    • นักศึกษาสามารถพัฒนาเค้าร่างวิทยานิพนธ์ได้
    • นักศึกษาสามารถระบุคุณภาพของงานวิจัยได้
    • นักศึกษาสามารถระบุขั้นตอนของการทำวิจัยได้
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และกำหนดประเด็นการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหรือการนำไปใช้ประโยชน์ได้
      • นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาไทยในการประชุมทั้งในระดับชาติแและระดับนานาชาติ
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อวิชาชีพสารสนเทศ
      • ยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพในการจัดการ การใช้และการเผยแพร่ข้อมูล
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และการวิจัยทางสารสนเทศ ประเภทของการวิจัย การกำหนดปัญหาและการตั้งคำถามการวิจัย การพัฒนากรอบแนวคิดในการวิจัย ระเบียบการวิจัยและการประยุกต์ในการวิจัยทางสารสนเทศ การออกแบบการวิจัย การกำหนดประชากรและการสุ่มตัวอย่าง การเลือ
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Knowledge of social science research and information research, types of research, identification of research problems and research questions, development of research conceptual framework, research methodology and its applications in information research,
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Task-based learning
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 แนะนำรายวิชา และรายละเอียดการเรียนการสอน และการประเมินผล
      แนวคิดและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      ประเภทของการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      8
      • K1: นักศึกษาสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้
      • C1: มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อวิชาชีพสารสนเทศ
      • C2: ยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพในการจัดการ การใช้และการเผยแพร่ข้อมูล
      การบรรยาย
      การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ
      3 Systematic Review 4
      • K1: นักศึกษาสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และกำหนดประเด็นการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหรือการนำไปใช้ประโยชน์ได้
      • C1: มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อวิชาชีพสารสนเทศ
      • C2: ยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพในการจัดการ การใช้และการเผยแพร่ข้อมูล
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      Google Classroom
      4 ทิศทางและแนวโน้มการวิจัยสารสนเทศ
      การกำหนดหัวข้อและการตั้งปัญหาการวิจัยทางสารสนเทศศึกษา
      4
      • K4: นักศึกษาสามารถระบุคุณภาพของงานวิจัยได้
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และกำหนดประเด็นการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหรือการนำไปใช้ประโยชน์ได้
      • C1: มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อวิชาชีพสารสนเทศ
      • C2: ยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพในการจัดการ การใช้และการเผยแพร่ข้อมูล
      บรรยาย เรื่อง ทิศทางและแนวโน้มการวิจัยทางสารสนเทศ
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      ในห้องเรียน
      Google Classroom
      5-10 การเลือกวิธีวิจัย และการออกแบบการวิจัยที่สอดคล้องกับปัญหา 24
      • K1: นักศึกษาสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้
      • K3: นักศึกษาสามารถพัฒนาเค้าร่างวิทยานิพนธ์ได้
      • K4: นักศึกษาสามารถระบุคุณภาพของงานวิจัยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และกำหนดประเด็นการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหรือการนำไปใช้ประโยชน์ได้
      • C1: มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อวิชาชีพสารสนเทศ
      • C2: ยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพในการจัดการ การใช้และการเผยแพร่ข้อมูล
      บรรยาย เรื่อง การเลือกวิธีวิจัย และการออกแบบการวิจัยที่สอดคล้องกับปัญหา
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
      ในห้องเรียน
      11-13 การเปรียบเทียบการวิจัยเชิงคุณภาพ และการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ 12
      • K1: นักศึกษาสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้
      • K3: นักศึกษาสามารถพัฒนาเค้าร่างวิทยานิพนธ์ได้
      • K4: นักศึกษาสามารถระบุคุณภาพของงานวิจัยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และกำหนดประเด็นการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหรือการนำไปใช้ประโยชน์ได้
      • C1: มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อวิชาชีพสารสนเทศ
      • C2: ยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพในการจัดการ การใช้และการเผยแพร่ข้อมูล
      บรรยาย เรื่องการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      ในห้องเรียน
      การลงพื้นที่เพื่อทดลองเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ
      14 การควบคุมคุณภาพการวิจัย 4
      • K4: นักศึกษาสามารถระบุคุณภาพของงานวิจัยได้
      • K5: นักศึกษาสามารถระบุขั้นตอนของการทำวิจัยได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อวิชาชีพสารสนเทศ
      • C2: ยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพในการจัดการ การใช้และการเผยแพร่ข้อมูล
      บรรยาย เรื่องการควบคุมคุณภาพการวิจัย
      อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
      การวิเคราะห์คุณภาพของงานวิจัยจากบทความวิจัยที่เผยแพร่
      ในห้องเรียน
      15-20 การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย โดยใช้โปรแกรม SPSS 24
      • K2: นักศึกษาสามารถเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมกับข้อมูลแต่ละประเภทได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อวิชาชีพสารสนเทศ
      บรรยาย เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย
      การทำแบบฝึกหัดเพื่อทดลองวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS
      ในห้องเรียน
      21-22 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม M-plus และ Atlas 12
      • K2: นักศึกษาสามารถเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมกับข้อมูลแต่ละประเภทได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อวิชาชีพสารสนเทศ
      บรรยาย เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยโดยใช้ M-plus และ Atlas
      การทำแบบฝึกหัดเพื่อทดลองวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS
      ในห้องเรียน
      23-24 การเขียนเชิงวิชาการ และการโจรกรรมทางวิชาการ
      เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัยและบทความวิจัย
      8
      • K3: นักศึกษาสามารถพัฒนาเค้าร่างวิทยานิพนธ์ได้
      • S3: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาไทยในการประชุมทั้งในระดับชาติแและระดับนานาชาติ
      • C1: มีความใฝ่รู้ พร้อมต่อการเรียนรู้และแสวงหาความจริงโดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน และปรับเปลี่ยนตนเองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อวิชาชีพสารสนเทศ
      • C2: ยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพในการจัดการ การใช้และการเผยแพร่ข้อมูล
      ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
      บรรยาย เรื่อง เทคนิคการเขียนผลงานวิชาการ
      ฝึกปฏิบัติการเขียนเค้าร่างวิทยานิพนธ์
      รวมจำนวนชั่วโมง 100 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      • S3: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาไทยในการประชุมทั้งในระดับชาติแและระดับนานาชาติ
      10
      งานเดี่ยว โดยการฝึกปฏิบัติในด้านต่างๆ
      • K1: นักศึกษาสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้
      • K2: นักศึกษาสามารถเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมกับข้อมูลแต่ละประเภทได้
      • S3: นักศึกษามีทักะในการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาไทยในการประชุมทั้งในระดับชาติแและระดับนานาชาติ
      30
      งานกลุ่ม
      • K1: นักศึกษาสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้
      • K2: นักศึกษาสามารถเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมกับข้อมูลแต่ละประเภทได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      30
      การพัฒนาเค้าร่างดุษฎีนิพนธ์
      • K3: นักศึกษาสามารถพัฒนาเค้าร่างวิทยานิพนธ์ได้
      • S2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และกำหนดประเด็นการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหรือการนำไปใช้ประโยชน์ได้
      30
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ชุติมา สัจจานันท์ และคุณะ. (2564). การวิจัยทางสารสนเทศศาสตร์ :ระเบียบวิธีวิจัยและกรณีศึกษา. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)