Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2565
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS457102
ภาษาไทย
Thai name
วิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
English name
Research Methodology in Public Administration
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์พิธันดร นิตยสุทธิ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์พิธันดร นิตยสุทธิ์
    • รองศาสตราจารย์สมศักดิ์ ศรีสันติสุข
    • อาจารย์ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
    • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
    • มีความรู้ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการศึกษารัฐประศาสน-ศาสตร์
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      หลักการแสวงหาความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ การออกแบบการวิจัยการเก็บและประมวลผลข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล ในบริบทการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ปัญหาของวิธีการวิจัยกระแสหลัก เทคนิคผสมระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การวิพากษ์ผลงานวิจัยที่แล้วมา
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Principles of searching for public administration knowledges; research design, data collection and processing, data analysis and conclusion of the research results within the contexts of quantitative and qualitative researches; problems of the conventional research methods, mixed technique between the quantitative and qualitative research methods; criticising the previous research papers
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Classroom-based learning
      • Work integrated learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Problem-based learning
      • Task-based learning
      • Community based learning
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 1. หลักการแสวงหาความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
      1.1 ฐานคติและธรรมชาติของการวิจัย
      กับการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์
      1.2 ตัวแบบ ขอบเขต และระบบคิด
      ในบริบทการวิจัยทางการบริหาร
      3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการศึกษารัฐประศาสน-ศาสตร์
      1) บรรยาย โดยใช้โปรแกรม Power point
      2) การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการวิเคราะห์โต้ตอบเนื้อหา
      2 2. การวิจัยเชิงปริมาณ
      2.1 การกำหนดหัวข้อและโจทย์วิจัย
      2.2 การออกแบบการวิจัย
      3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
      1) บรรยาย โดยใช้โปรแกรม Power point
      2) การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการวิเคราะห์โต้ตอบเนื้อหา
      3 2.3 การเก็บและประมวลผลข้อมูล 3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
      1) บรรยาย โดยใช้โปรแกรม Power point
      2) การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการวิเคราะห์โต้ตอบเนื้อหา
      4-5 2.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
      2.5 อภิปรายผล
      6
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
      1) บรรยาย โดยใช้โปรแกรม Power point
      2) การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการวิเคราะห์โต้ตอบเนื้อหา
      6 2.6 ฝึกปฏิบัติจริงในพื้นที่ 3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • C1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      1) ลงพื้นที่เพื่อฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการวิจัยเชิงปริมาณที่ศึกษามาตั้งแต่หัวข้อ 2.1 – 2.5
      2) ผู้สอนอภิปรายและให้ข้อเสนอแนะเพื่อประโยชน์ในการทำวิทยานิพนธ์ต่อไป
      7 2.7 วิพากษ์ผลงานวิจัยเชิงปริมาณ 3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • C1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      1) นำเสนอประเด็นการวิพากษ์ผลงานวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2) ผู้สอนอภิปรายและให้ข้อเสนอแนะเพื่อประโยชน์ในการทำวิทยานิพนธ์ต่อไป
      8 3. การวิจัยเชิงคุณภาพ
      3.1 การกำหนดหัวข้อและโจทย์วิจัย
      3.2 การออกแบบการวิจัย
      3
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
      1) บรรยาย โดยใช้โปรแกรม Power point
      2) การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการวิเคราะห์โต้ตอบเนื้อหา
      9 3.3 การเก็บและประมวลผลข้อมูล 3
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
      1) บรรยาย โดยใช้โปรแกรม Power point
      2) การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการวิเคราะห์โต้ตอบเนื้อหา
      10-11 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
      3.5 อภิปรายผล
      6
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
      1) บรรยาย โดยใช้โปรแกรม Power point
      2) การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการวิเคราะห์โต้ตอบเนื้อหา
      12 3.6 ฝึกปฏิบัติจริงในพื้นที่
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • C1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      1) ลงพื้นที่กรณีศึกษาเพื่อฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพที่ศึกษามาตั้งแต่หัวข้อ 3.1 – 3.5
      2) ผู้สอนอภิปรายและให้ข้อเสนอแนะเพื่อประโยชน์ในการทำวิทยานิพนธ์ต่อไป
      13 3.7 วิพากษ์ผลงานวิจัยเชิงคุณภาพ 3
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • C1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      1) นำเสนอประเด็นการวิพากษ์ผลงานวิจัยเชิงคุณภาพทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2) ผู้สอนอภิปรายและให้ข้อเสนอแนะเพื่อประโยชน์ในการทำวิทยานิพนธ์ต่อไป
      14 4. การวิจัยแบบผสม
      4.1 ปัญหาของวิธีการวิจัยกระแสหลัก
      4.2 เทคนิคผสมระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
      3
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการศึกษารัฐประศาสน-ศาสตร์
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • C1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      1) บรรยาย โดยใช้โปรแกรม Power point
      2) การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการวิเคราะห์โต้ตอบเนื้อหา
      15 5. นำเสนอ concept paper และสรุป อภิปรายผลการเรียนรู้
      3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการศึกษารัฐประศาสน-ศาสตร์
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • C1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      1) ผู้สอนอภิปรายและให้ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนา concept paper เป็นวิทยานิพนธ์ต่อไป
      2) สรุปและอภิปรายบทเรียนทั้งหมด
      3) นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรู้มาทั้งหมด
      รวมจำนวนชั่วโมง 42 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      สอบไล่
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการศึกษารัฐประศาสน-ศาสตร์
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • A1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      50
      ฝึกปฏิบัติภาคสนามการวิจัยเชิงปริมาณ
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • A1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      10
      ฝึกปฏิบัติภาคสนามการวิจัยเชิงคุณภาพ
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • A1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      10
      การนำเสนอการวิพากษ์งานวิจัยเชิงปริมาณ
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • A1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      10
      การนำเสนอการวิพากษ์งานวิจัยเชิงคุณภาพ
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • A1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      10
      การนำเสนอ concept paper
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงปริมาณ
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีวิทยาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เชิงเชิงคุณภาพ
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการศึกษารัฐประศาสน-ศาสตร์
      • S1: มีความสามารถในระบบการคิดเชิงวิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ในกระบวนการวิจัย
      • A1: มีมุมมองทางวิชาการและสถานการณ์จริงในการบริหารอย่างเป็นองค์รวม
      10
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา จุมพล หนิมพานิช. (2550). การวิจัยเชิงคุณภาพในทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง
      จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      ชาย โพธิสิตา. (2556). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2553). สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
      ผ่องพรรณ ตัยมงคลกูล และ สุภาพ ฉัตราภรณ์. (2555). การออกแบบการวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
      มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
      สุชาต ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2550). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดสามลดา.
      สุวิมล ติรกานันท์. (2551). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ:
      ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      Babbie, Earl. (2008). The Basics of Social Research. Belmont: United States.
      Locke, Karen. (2001). Grounded Theory in Management Research. London: Sage Publications.
      Scheyvens, Regina and Storey, Donovan (eds). (2003). Development Fieldwork: A Practical Guide. London: Sage Publications.
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)