Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS457103
ภาษาไทย
Thai name
นวัตกรรมการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
ภาษาอังกฤษ
English name
Innovation in Organization and Human Resource Management
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์นิภาพรรณ เจนสันติกุล
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์สุกัญญา เอมอิ่มธรรม
    • อาจารย์ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์
    • รองศาสตราจารย์นิภาพรรณ เจนสันติกุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้และสามารถอธิบายแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย แนวโน้มการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
    • นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนวัตกรรมที่สำคัญเพื่อการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมได้ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการ วิชาการ และการพัฒนา
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษารับรู้และประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กติกาขององค์การและสังคม มีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาการ
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
    • นักศึกษาสามารถค้นหาข้อมูล สารสนเทศ คัดกรอง ตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และมีจริยธรรมทางวิชาการ
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษามีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีภาวะผู้นำ การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    • นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    แนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย แนวโน้มการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม การประยุกต์ใช้นวัตกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Systematic concepts of contemporary organization management; trends of organization and human resource management, digital technology of organization for economy and society; application of crucial innovation, analysis and synthesis for knowledge integrat
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Online learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Task-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-3 แนะนำรายวิชาเพื่อให้เข้าใจแผนการสอนและสร้างข้อตกลงร่วมกัน
    การบรรยายแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้และสามารถอธิบายแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย แนวโน้มการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนวัตกรรมที่สำคัญเพื่อการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมได้ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการ วิชาการ และการพัฒนา
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
    • S2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อมูล สารสนเทศ คัดกรอง ตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีภาวะผู้นำ การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    • C3: นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ 1) แนะนำรายวิชา ชี้แจงและแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนรวมถึงอธิบายรายละเอียดของรายวิชา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อตกลงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนของรายวิชาและการวัดผลการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2) บรรยาย 3) การเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน สื่อ/เอกสารในการสอน ได้แก่ 1) PowerPoint 2) ตำรา/หนังสือแนะนำแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย 3) บทความวิชาการที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย 4) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย และกำหนดวิธีการวัดและประเมินผล ได้แก่ 1) การสังเกตจากพฤติกรรมในการเข้าเรียน การถามตอบระหว่างเรียน และการทำกิจกรรมกลุ่ม 2) การมีส่วนร่วมในการเรียน การอภิปรายและความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน
    4-5 การบรรยายแนวโน้มการจัดการองค์การ 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้และสามารถอธิบายแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย แนวโน้มการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
    • S2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อมูล สารสนเทศ คัดกรอง ตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E1: นักศึกษารับรู้และประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กติกาขององค์การและสังคม มีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาการ
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีภาวะผู้นำ การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    กิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ 1) บรรยาย 2) กำหนดให้นักศึกษานำเสนองานแบบกลุ่ม และการอภิปราย 3) การวิเคราะห์กรณีศึกษา โดยกำหนดสถานการณ์ให้วิเคราะห์ร่วมกันเกี่ยวกับองค์ความรู้ในการจัดการองค์การ 4) การเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน สื่อ/เอกสารในการสอน ได้แก่ 1) PowerPoint 2) ตำรา/หนังสือแนะนำด้านนวัตกรรมการจัดการองค์การ 3) บทความวิชาการที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมการจัดการองค์การ 4) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมการจัดการองค์การและแนวโน้มการจัดการองค์การ และกำหนดวิธีการวัดและประเมินผล ได้แก่ 1) การสังเกตจากพฤติกรรมในการเข้าเรียน การถามตอบระหว่างเรียน และการทำกิจกรรมกลุ่ม 2) การมีส่วนร่วมในการเรียน การอภิปรายและความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน 3) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
    6-7 การบรรยายแนวโน้มการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้และสามารถอธิบายแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย แนวโน้มการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
    • S2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อมูล สารสนเทศ คัดกรอง ตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E1: นักศึกษารับรู้และประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กติกาขององค์การและสังคม มีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ 1) บรรยาย 2) กำหนดให้นักศึกษานำเสนองานแบบกลุ่ม และการอภิปราย สื่อ/เอกสารในการสอน ได้แก่ 1) PowerPoint 2) ตำรา/หนังสือแนะนำด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 3) บทความวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 4) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และกำหนดวิธีการวัดและประเมินผล ได้แก่ 1) การสังเกตจากพฤติกรรมในการเข้าเรียน การถามตอบระหว่างเรียน และการทำกิจกรรมกลุ่ม 2) การมีส่วนร่วมในการเรียน การอภิปรายและความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน
    8-9 การบรรยายเทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้และสามารถอธิบายแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย แนวโน้มการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนวัตกรรมที่สำคัญเพื่อการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมได้ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการ วิชาการ และการพัฒนา
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
    • S2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อมูล สารสนเทศ คัดกรอง ตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีภาวะผู้นำ การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    กิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ 1) บรรยาย 2) การอภิปราย 3) การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน สื่อ/เอกสารในการสอน ได้แก่ 1) PowerPoint 2) ตำรา/หนังสือแนะนำนวัตกรรมในองค์การภาครัฐและองค์การภาคเอกชน 3) บทความวิชาการที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 4) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และกำหนดวิธีการวัดและประเมินผล ได้แก่ 1) การสังเกตจากพฤติกรรมในการเข้าเรียน การถามตอบระหว่างเรียน และการทำกิจกรรมกลุ่ม 2) การมีส่วนร่วมในการเรียน การอภิปรายและความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน
    10-11 บรรยายการประยุกต์ใช้นวัตกรรมในองค์กรภาครัฐ/องค์กรภาคเอกชน/องค์กรไม่แสวงหากำไร เช่น กรมสรรพากร กระทรวงมหาดไทย กรมการกงสุล 6
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนวัตกรรมที่สำคัญเพื่อการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมได้ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการ วิชาการ และการพัฒนา
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
    • S2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อมูล สารสนเทศ คัดกรอง ตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • E1: นักศึกษารับรู้และประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กติกาขององค์การและสังคม มีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาการ
    กิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ 1) บรรยาย 2) การอภิปราย 3) การเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน สื่อ/เอกสารในการสอน ได้แก่ 1) PowerPoint 2) ตำรา/หนังสือแนะนำนวัตกรรมในองค์กรภาครัฐและองค์กรภาคเอกชน 3) บทความวิชาการที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมในองค์กรภาครัฐ/องค์กรภาคเอกชน/ องค์กรไม่แสวงหากำไร 4) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมในองค์กรภาครัฐ/องค์กรภาคเอกชน/องค์กรไม่แสวงหากำไร และกำหนดวิธีการวัดและประเมินผล ได้แก่ 1) การสังเกตจากพฤติกรรมในการเข้าเรียน การถามตอบระหว่างเรียน และการทำกิจกรรมกลุ่ม 2) การมีส่วนร่วมในการเรียน การอภิปรายและความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน
    12-13 การบรรยายการวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทุนมนุษย์ 6
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนวัตกรรมที่สำคัญเพื่อการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมได้ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการ วิชาการ และการพัฒนา
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
    • E1: นักศึกษารับรู้และประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กติกาขององค์การและสังคม มีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีภาวะผู้นำ การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    • C3: นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ 1) บรรยาย 2) การอภิปราย 3) การจัดการเรียนรู้แบบมุ่งปฏิบัติงาน (Task-based learning) โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนทำภาระงานกลุ่มๆ ละ 2 คน โดยกำหนดสถานการณ์ให้วิเคราะห์ร่วมกันเกี่ยวกับองค์ความรู้ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 4) การมอบหมายรายงานกลุ่ม สื่อ/เอกสารในการสอน ได้แก่ 1) PowerPoint 2) ตำรา/หนังสือแนะนำองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ 3) บทความวิชาการที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ 4) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ และกำหนดวิธีการวัดและประเมินผล ได้แก่ 1) การสังเกตจากพฤติกรรมในการเข้าเรียน การถามตอบระหว่างเรียน และการทำกิจกรรมกลุ่ม 2) การมีส่วนร่วมในการเรียน การอภิปรายและความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน 3) ผลการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนทำภาระงานกลุ่ม
    14 รายงานกลุ่ม 3
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนวัตกรรมที่สำคัญเพื่อการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมได้ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการ วิชาการ และการพัฒนา
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีภาวะผู้นำ การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    • C3: นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ 1) บรรยาย 2) การอภิปราย 3) การนำเสนอรายงานกลุ่ม สื่อ/เอกสารในการสอน ได้แก่ 1) PowerPoint 2) ตำรา/หนังสือแนะนำองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ 3) บทความวิชาการที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ 4) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ และกำหนดวิธีการวัดและประเมินผล ได้แก่ 1) การพิจารณาคุณภาพรายงานกลุ่มที่ให้ศึกษาค้นคว้าระหว่างเรียนเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด และมีการอ้างอิงข้อมูลทางวิชาการอย่างถูกต้อง 2) การมีส่วนร่วมในการเรียน การอภิปรายและความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน
    15 การบรรยายพิเศษองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทุนมนุษย์ 3
    • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนวัตกรรมที่สำคัญเพื่อการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมได้ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการ วิชาการ และการพัฒนา
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
    • E1: นักศึกษารับรู้และประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กติกาขององค์การและสังคม มีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีภาวะผู้นำ การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
    กิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่ 1) บรรยาย 2) การอภิปราย สื่อ/เอกสารในการสอน ได้แก่ 1) PowerPoint 2) ตำรา/หนังสือแนะนำองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทุนมนุษย์ 3) บทความวิชาการที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทุนมนุษย์4) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทุนมนุษย์ และกำหนดวิธีการวัดและประเมินผล ได้แก่ 1) การสังเกตจากพฤติกรรมในการเข้าเรียน การถามตอบระหว่างเรียน และการทำกิจกรรมกลุ่ม 2) การมีส่วนร่วมในการเรียน การอภิปรายและความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าชั้นเรียน
      5 ทุกสัปดาห์
      การอภิปราย แลกเปลี่ยน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนวัตกรรมที่สำคัญเพื่อการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมได้ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการ วิชาการ และการพัฒนา
      • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
      • S2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อมูล สารสนเทศ คัดกรอง ตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และมีจริยธรรมทางวิชาการ
      • E1: นักศึกษารับรู้และประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กติกาขององค์การและสังคม มีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาการ
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีภาวะผู้นำ การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
      • C3: นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      10 ทุกสัปดาห์
      การวิเคราะห์กรณีศึกษา เกณฑ์การพิจารณา
      1) มีการวิเคราะห์และแสดงเหตุผลประกอบชัดเจน 2) มีการนำเสนอแนวทางใหม่และแสดงออกซึ่งความคิดสร้างสรรค์ 3) ความตรงเวลาในการส่งงาน
      • K1: นักศึกษามีความรู้และสามารถอธิบายแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย แนวโน้มการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
      • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนวัตกรรมที่สำคัญเพื่อการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมได้ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการ วิชาการ และการพัฒนา
      • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
      • S2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อมูล สารสนเทศ คัดกรอง ตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และมีจริยธรรมทางวิชาการ
      • E1: นักศึกษารับรู้และประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กติกาขององค์การและสังคม มีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาการ
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีภาวะผู้นำ การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
      • C3: นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      20 สัปดาห์ที่ 4-5
      รายงานกลุ่ม เกณฑ์การพิจารณา
      1) ความสมบูรณ์ของเนื้อหา 2) การจัดทำเอกสารอ้างอิงถูกต้อง 3) มีการวิเคราะห์ ยกตัวอย่าง และแสดงเหตุผลประกอบการวิเคราะห์ชัดเจน
      • K1: นักศึกษามีความรู้และสามารถอธิบายแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย แนวโน้มการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
      • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนวัตกรรมที่สำคัญเพื่อการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมได้ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการ วิชาการ และการพัฒนา
      • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
      • S2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อมูล สารสนเทศ คัดกรอง ตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และมีจริยธรรมทางวิชาการ
      • E1: นักศึกษารับรู้และประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กติกาขององค์การและสังคม มีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาการ
      • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีภาวะผู้นำ การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
      25 สัปดาห์ที่ 14
      การสอบปลายภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้และสามารถอธิบายแนวคิดเชิงระบบเกี่ยวกับการจัดการองค์การร่วมสมัย แนวโน้มการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีดิจิทัลขององค์การเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
      • K2: นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจนวัตกรรมที่สำคัญเพื่อการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ที่เหมาะสมได้ สามารถบูรณาการศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการ วิชาการ และการพัฒนา
      • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ กรณีศึกษา โดยนำแนวคิด ทฤษฎี เครื่องมือทางการบริหาร และใช้ศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องมาพรรณนา อธิบาย และจัดทำข้อเสนอได้อย่างเหมาะสม
      • S2: นักศึกษาสามารถค้นหาข้อมูล สารสนเทศ คัดกรอง ตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และมีจริยธรรมทางวิชาการ
      • E1: นักศึกษารับรู้และประพฤติปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ กติกาขององค์การและสังคม มีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาการ
      • C2: นักศึกษามีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีภาวะผู้นำ การให้ความร่วมมือ ทำงานเป็นทีม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลายได้และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
      • C3: นักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและหรือวิชาชีพ มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      40 สัปดาห์ที่ 16
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม และพิธันดร นิตยสุทธิ์. (2564). “ภาวะผู้นำท้องถิ่นไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 38, 3 (กันยายน - ธันวาคม 2564), หน้า 105-131.
      นพดล เหลืองภิรมย์. (2555). การจัดการนวัตกรรม: Innovation Management. กรุงเทพฯ: ดวงกมลพับลิชชิ่ง.
      นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2563). “การบริหารองค์การด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิด Objective and Key Results.” วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 37, 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2563), หน้า 367-382.
      เนาวนิตย์ สงคราม. (2556). การสร้างนวัตกรรม: เปลี่ยนผู้เรียนให้เป็นผู้สร้างนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      ปรีดา ยังสุขสถาพร และพันธพงศ์ ตั้งธีรสุนันท์. (2559). กระบวนการคิดและสร้างนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: แอร์โรว์ มัลติมีเดีย.
      ประจวบ กล่อมจิตร. (2557). เทคนิคการเพิ่มผลผลิตในองค์กร: หลักการและตัวอย่างการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
      พยัต วุฒิรงค์. (2557). การจัดการนวัตกรรม: ทรัพยากร องค์การแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
      พยัต วุฒิรงค์. (2562). การจัดการนวัตกรรมจากแนวคิดสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      พัฒนา ศิริโชติบัณฑิต. (2559). การบริหารงานคุณภาพในองค์การ. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
      ศลิษา ภมรสถิตย์. (2561). การจัดการคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต (Quality and Productivity Management). ม.ป.ท.
      สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2546). การจัดการและการพัฒนาองค์การ. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      Bileviciene T., Bileviciute, E., Parazinskaite, G. (2015). “Innovative Trends in Human Resources Management.” Economics and Sociology, 8, 4, (December 2015), p. 94-109.
      Choo, H. G. (2007). “Leadership and the Workforce in Singapore: Evaluations by the Singapore Human Resources Institute.” Research and Practice in Human Resource Management, 15, 2 (December 2007), p. 104-114.
      Grieves, J. (2003). Strategic Human Resource Development. London: Sage.
      Harrison, R. & Kessels, J. W. M. (2004). Human Resource Development in a Knowledge Economy: An Organisational View. New York: Palgrave Macmillan.
      Mulero, A.W. & Emeka, O.E. (2018). “Developing Organizational Innovation Capabilities through Human Resources Management Practices: Evidence from Nigeria’s Brewery Industry.” International Journal of Advanced Academic Research, Social & Management Sciences, 4, 4 (April 2018), p. 357-375.
      Nasilloyevich, U.B. (2020). “Review of The Trends of Management: Corporate Culture or Organizational Behavior.” EPRA International Journal of Economics, Business and Management Studies, 7, 2 (September 2020), p. 40-43.
      Sreeramana, A. & Suresh, K. (2016). Comparative Analysis of Theory X, Theory Y, Theory Z, and Theory A for Managing People and Performance. Germany: University Library of Munich.
      Thamviriyavong, P. (2021). “The Guide to Innovative Human Resource Management.” Dusit Thani College Journal, 15, 1 (January - April 2021), p. 516-528.
      Thoman, D. & Lloyd, R. (2018). “A Review of the Literature on Human Resource Development: Leveraging HR as Strategic Partner in the High Performance Organization.” Journal of International & Interdisciplinary Business Research, 5 (June 2018), p. 147-160.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2566). นวัตกรรมการจัดการภาครัฐกับกระบวนทัศน์ทางรัฐประศาสนศาสตร์: การทบทวนองค์ความรู้และประเภทของนวัตกรรม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร วิทยาเขตอีสาน, 4,1 (มกราคม-เมษายน 2566), หน้า 63-77. อาจารย์ภายในคณะ
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      • ประเมินโดยการทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อประเมินภาพรวมของการจัดการเรียนการสอน (Classroom research is conducted to evaluate the overall picture of instructional management and learning and teaching.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)