Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2565
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS287807
ภาษาไทย
Thai name
หัวข้อพิเศษด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัล
ภาษาอังกฤษ
English name
Special Topis in Digital Humanities
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
8(8-0-16)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ศาสตราจารย์กุลธิดา ท้วมสุข
    • รองศาสตราจารย์วิระพงศ์ จันทร์สนาม
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กันยารัตน์ เควียเซ่น
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล และผลกระทบจากการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ (PLO1.1)
    • ประยุกต์ใช้ทฤษฎีสำคัญทางด้านสารสนเทศและความรู้กับการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลได้ (PLO1.2)
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • พัฒนาโครงงานเฉพาะด้านหรือโครงการวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่สามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือเพิ่มคุณค่าในเรื่องที่เกี่ยวข้องได้ (PLO1.2)
      • ใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีในการผลิตผลงานที่เกิดจากการศึกษาวิจัยทางมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO1.2)
      • มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการนำเสนอสารสนเทศและความรู้ซึ่งเกิดจากการศึกษาค้นคว้าและผลิตผลงานด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO3.2)
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • ใช้และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (PLO4.1)
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      การศึกษาค้นคว้า และการทบทวนวรรณกรรม การสัมมนา นำเสนอผลการศึกษาและรายงานการศึกษาโครงงานหรืองานวิจัยในหัวข้อเรื่องหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล หลักการวิจัยมนุษยศาสตร์ดิจิทัล เครื่องมือและเทคโนโลยีสำหรับการวิจัยและพัฒนางานด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัล เครือข่ายและแนวโน้มของการศึกษาและวิจัยมนุษยศาสตร์ดิจิทัลในระดับสากล
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Study and review of the literature, discussion, presentation, and report writing on the principles and concepts of digital humanities (DH), research method for digital humanities, tools and technologies for digital humanities research and development, international networks and trends of digital humanities education and research.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Project-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 Introduction to DH and DH Research -ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ (DH concepts)
      -ความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาทางมนุษยศาสตร์ (Humanities contents)
      -ความรู้เกี่ยวกับการวิจัย DH (DH research approach)
      -การกำหนดแนวคิดและออกแบบงานวิจัย DH (DH research concept and design)
      12
      • K1: อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล และผลกระทบจากการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ (PLO1.1)
      • C1: ใช้และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (PLO4.1)
      -การบรรยาย
      -การค้นคว้าด้วยตนเอง
      -การอภิปรายและฝึกปฏิบัติ
      -การนำเสนอผลงานเชิงแนวคิด
      3-7 DH Knowledge Acquisition -หลักการการจัดหาความรู้เพื่อการวิจัย DH (Principles of knowledge acquisition)
      -แหล่งความรู้สำหรับการวิจัย DH (Knowledge resources for DH)
      -วิธีการทางมานุษยวิทยาหรือการเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ (Anthropological approach or field research)
      -การวิจัยเอกสาร (Documentary research)
      -การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research)
      -การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research)
      -การใช้เทคนิคเหมืองข้อมูล (Data mining technique)
      30
      • K1: อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล และผลกระทบจากการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ (PLO1.1)
      • K2: ประยุกต์ใช้ทฤษฎีสำคัญทางด้านสารสนเทศและความรู้กับการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลได้ (PLO1.2)
      • S3: มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการนำเสนอสารสนเทศและความรู้ซึ่งเกิดจากการศึกษาค้นคว้าและผลิตผลงานด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO3.2)
      • C1: ใช้และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (PLO4.1)
      -การบรรยาย
      -การปฏิบัติสร้างเครื่องมือและใช้เทคนิคการจัดหาความรู้เพื่อการวิจัย
      --การค้นคว้าด้วยตนเอง/การ ทำงานตามที่มอบหมาย (อ้างอิงข้อมูลจริงโดยเลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่งที่สนใจ)
      -การนำเสนอผลงาน
      8-14 DH Knowledge Organization -หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการจัดระบบความรู้ DH (Principles and concepts of KO for DH)
      -การวิเคราะห์และจัดหมวดหมู่เนื้อหาความรู้ DH (Analysis and classification of DH knowledge contents)
      -การจัดโครงสร้างความรู้อย่างง่าย-อนุกรมวิธาน, ศัพท์สัมพันธ์ (Organization of simple knowledge structure: taxonomy, thesaurus)
      -การจัดโครงสร้างความรู้เชิงสัมพันธ์-ออนโทโลยี(Organization of associated knowledge structure: thesaurus: ontology)
      -การจัดโครงสร้างความรู้แบบบรรยาย-เมทาดาตา (Organization of descriptive knowledge structure: metadata)
      เมทาดาตา
      42
      • K1: อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล และผลกระทบจากการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ (PLO1.1)
      • K2: ประยุกต์ใช้ทฤษฎีสำคัญทางด้านสารสนเทศและความรู้กับการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลได้ (PLO1.2)
      • S2: ใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีในการผลิตผลงานที่เกิดจากการศึกษาวิจัยทางมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO1.2)
      • S3: มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการนำเสนอสารสนเทศและความรู้ซึ่งเกิดจากการศึกษาค้นคว้าและผลิตผลงานด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO3.2)
      • C1: ใช้และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (PLO4.1)
      -การบรรยาย
      -การฝึกปฏิบัติจัดระบบความรู้แต่ละประเภท โดยเรียนรู้เทคนิค วิธีการ และใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
      -การค้นคว้าด้วยตนเอง/ทำงานตามที่มอบหมาย (อ้างอิงข้อมูลจริงโดยเลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่งที่สนใจ)
      -การนำเสนอผลงาน
      15-19 DH Knowledge-based System (KBS) -หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับระบบฐานความรู้สำหรับ DH (Principles and concepts of KBS for DH)
      -รูปแบบการพัฒนาระบบฐานความรู้สำหรับ DH (Development models of KBS for DH)
      -เทคโนโลยีและเครื่องมือสำหรับการพัฒนาระบบฐานความรู้ (Technology and tools for KBS development)
      -การสร้างระบบจัดเก็บและค้นคืน (Creation of storage and retrieval systems)
      -การนำเสนอผลข้อมูลในรูปแบบต่างๆ (Knowledge presentation and visualization)
      -การทดสอบและประเมินระบบ (System testing and evaluation)
      30
      • K1: อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล และผลกระทบจากการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ (PLO1.1)
      • K2: ประยุกต์ใช้ทฤษฎีสำคัญทางด้านสารสนเทศและความรู้กับการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลได้ (PLO1.2)
      • S2: ใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีในการผลิตผลงานที่เกิดจากการศึกษาวิจัยทางมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO1.2)
      • S3: มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการนำเสนอสารสนเทศและความรู้ซึ่งเกิดจากการศึกษาค้นคว้าและผลิตผลงานด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO3.2)
      • C1: ใช้และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (PLO4.1)
      -การบรรยาย
      -การฝึกปฏิบัติพัฒนา KBS โดยเรียนรู้เทคนิค วิธีการ และใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องเป็นเครื่องมือ
      -การค้นคว้าด้วยตนเอง/ทำงานตามที่มอบหมาย (อ้างอิงข้อมูลจริงโดยเลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่งที่สนใจ)
      -การนำเสนอผลงาน
      20 DH Research Project Presentation and course summarization -รายงานโครงการ (กรณีศึกษา) ของนักศึกษา
      -สรุปและสะท้อนผลชุดวิชา
      6
      • K1: อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล และผลกระทบจากการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ (PLO1.1)
      • K2: ประยุกต์ใช้ทฤษฎีสำคัญทางด้านสารสนเทศและความรู้กับการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลได้ (PLO1.2)
      • S1: พัฒนาโครงงานเฉพาะด้านหรือโครงการวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่สามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือเพิ่มคุณค่าในเรื่องที่เกี่ยวข้องได้ (PLO1.2)
      • S2: ใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีในการผลิตผลงานที่เกิดจากการศึกษาวิจัยทางมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO1.2)
      • S3: มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการนำเสนอสารสนเทศและความรู้ซึ่งเกิดจากการศึกษาค้นคว้าและผลิตผลงานด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO3.2)
      • C1: ใช้และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (PLO4.1)
      -การนำเสนอผลงานเป็นรายบุคคลพร้อมเอกสารรายงาน
      -การอภิปรายสะท้อนผลการเรียน
      รวมจำนวนชั่วโมง 120 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      Introduction to DH and DH Research
      • K1: อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล และผลกระทบจากการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ (PLO1.1)
      • A1: ใช้และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (PLO4.1)
      20% -ได้ใบประกาศนียบัตรประจำหน่วยการเรียนรู้
      -ได้หน่วยกิตสะสมสำหรับผู้เรียนแบบไม่รับปริญญา
      DH Knowledge Acquisition
      • K1: อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล และผลกระทบจากการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ (PLO1.1)
      • K2: ประยุกต์ใช้ทฤษฎีสำคัญทางด้านสารสนเทศและความรู้กับการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลได้ (PLO1.2)
      • S2: ใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีในการผลิตผลงานที่เกิดจากการศึกษาวิจัยทางมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO1.2)
      • S3: มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการนำเสนอสารสนเทศและความรู้ซึ่งเกิดจากการศึกษาค้นคว้าและผลิตผลงานด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO3.2)
      • A1: ใช้และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (PLO4.1)
      20% -ได้ใบประกาศนียบัตรประจำหน่วยการเรียนรู้
      -ได้หน่วยกิตสะสมสำหรับผู้เรียนแบบไม่รับปริญญา
      DH Knowledge Organization
      • K1: อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล และผลกระทบจากการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ (PLO1.1)
      • K2: ประยุกต์ใช้ทฤษฎีสำคัญทางด้านสารสนเทศและความรู้กับการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลได้ (PLO1.2)
      • S2: ใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีในการผลิตผลงานที่เกิดจากการศึกษาวิจัยทางมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO1.2)
      • S3: มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการนำเสนอสารสนเทศและความรู้ซึ่งเกิดจากการศึกษาค้นคว้าและผลิตผลงานด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO3.2)
      • A1: ใช้และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (PLO4.1)
      20% -ได้ใบประกาศนียบัตรประจำหน่วยการเรียนรู้
      -ได้หน่วยกิตสะสมสำหรับผู้เรียนแบบไม่รับปริญญา
      DH Knowledge-based System (KBS)
      • K1: อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล และผลกระทบจากการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ (PLO1.1)
      • K2: ประยุกต์ใช้ทฤษฎีสำคัญทางด้านสารสนเทศและความรู้กับการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลได้ (PLO1.2)
      • S2: ใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีในการผลิตผลงานที่เกิดจากการศึกษาวิจัยทางมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO1.2)
      • S3: มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการนำเสนอสารสนเทศและความรู้ซึ่งเกิดจากการศึกษาค้นคว้าและผลิตผลงานด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO3.2)
      • A1: ใช้และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (PLO4.1)
      20% -ได้ใบประกาศนียบัตรประจำหน่วยการเรียนรู้
      -ได้หน่วยกิตสะสมสำหรับผู้เรียนแบบไม่รับปริญญา
      DH Research Project Presentation and course summarization
      • K1: อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล และผลกระทบจากการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ (PLO1.1)
      • K2: ประยุกต์ใช้ทฤษฎีสำคัญทางด้านสารสนเทศและความรู้กับการศึกษามนุษยศาสตร์ดิจิทัลได้ (PLO1.2)
      • S1: พัฒนาโครงงานเฉพาะด้านหรือโครงการวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัลที่สามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือเพิ่มคุณค่าในเรื่องที่เกี่ยวข้องได้ (PLO1.2)
      • S2: ใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีในการผลิตผลงานที่เกิดจากการศึกษาวิจัยทางมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO1.2)
      • S3: มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ และทักษะการนำเสนอสารสนเทศและความรู้ซึ่งเกิดจากการศึกษาค้นคว้าและผลิตผลงานด้านมนุษยศาสตร์ดิจิทัล (PLO3.2)
      • A1: ใช้และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ โดยยึดมั่นในหลักจริยธรรม ธรรมาภิบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (PLO4.1)
      20% -จบโมดูลตามเกณฑ์
      -ได้ใบประกาศนียบัตรประจำหน่วยการเรียนรู้
      -ได้หน่วยกิตสะสมสำหรับผู้เรียนแบบไม่รับปริญญา
      สัดส่วนคะแนนรวม 0
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา กุลธิดา ท้วมสุข วิระพงศ์ จันทร์สนาม จุฑาทิพย์ ไชยกำบัง และณัฐพงศ์ แก้วบุญมา. (2561). การวิจัยมนุษยศาสตร์ดิจิทัล. ขอนแก่น: นานาวิทยา.
      วิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2565). ตำราเรื่อง เทคโนโลยีการจัดการความรู้สำหรับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      เอกสารเสริม
      Schreibman, S., Siemens, R., & Unsworth, J. (Eds.). (2008). A companion to digital humanities. John Wiley & Sons.
      Berry, D. M. (2012). Introduction: Understanding the digital humanities. In Understanding digital humanities (pp. 1-20). Palgrave Macmillan, London.
      Simanowski, R. (2016). Digital humanities and digital media: Conversations on politics, culture, aesthetics and literacy. Open Humanities Press.
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)