Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423207
ภาษาไทย
Thai name
เพศภาวะ วัฒนธรรมและสังคม
ภาษาอังกฤษ
English name
GENDER CULTURE AND SOCIETY
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • อาจารย์ชีรา ทองกระจาย
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • อาจารย์ชีรา ทองกระจาย
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • นักศึกษาอธิบายประเด็นเกี่ยวกับเพศภาวะ ผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
จริยธรรม
Ethics
  • มีความรับผิดขอบ มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
ทักษะ
Skills
  • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องเพศภาวะ และประยุกต์ใช้แนวคิด เพื่อทำความเข้าใจ บทบาทและความสัมพันธ์หญิงชายในบริบททางวัฒนธรรมและสังคมที่หลากหลาย
  • เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนการทางการวิจัยในการแสวงหาความรู้ เพื่อทำความเข้าใจเพสภาวะ และผลกระทบต่อบทบาท หน้าที่ ตำแหน่งแห่งที่ และความคาดหวังต่อหญิงและชายในสังคม
  • เพื่อพัฒนาทักษะการการพูด ฟัง อ่าน เขียน สื่อสารกับผู้อื่น และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลักษณะบุคคล
Character
  • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม และเคารพในความแตกต่างระหว่างบุคคลในสังคม
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
ความหมายและขอบเขตของเพศภาวะและเพศทางชีวภาพ ปัจจัยและเงื่อนไขที่ส่งผลต่อบทบาททางเพศและความสัมพันธ์หญิง-ชาย บทบาททางเพศกับการขัดเกลา ทางสังคม แนวคิดและการวิเคราะห์เพศภาวะ บทบาทหญิง-ชายในสังคมมิติต่างๆ การพัฒนาสตรีและการส่งเสริมบทบาทหญิง-ชายในสังคมไทย
ภาษาอังกฤษ
English
Meaning and scope of gender and sex, factors and conditions influencing gender roles and relations, gender roles and socialization, gender concepts and analysis, gender roles in various aspects of society, women development and gender promotion in Thai society
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Blended learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Research-based learning
  • Task-based learning
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 - แนะนำรายวิชา กระบวน การเรียนการสอน การประเมินผล และข้อตกลงเบื้องต้น
- ทบทวนความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเพศวิถี
3
  • K1: นักศึกษาอธิบายประเด็นเกี่ยวกับเพศภาวะ ผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม และเคารพในความแตกต่างระหว่างบุคคลในสังคม
(1) ชี้แจงขอบเขต เนื้อหา กระบวนการเรียนการสอน และการหาข้อตกลงร่วมเกี่ยวกับงาน รูปแบบและเกณฑ์การประเมินการประเมินผลการเรียน
(2) บรรยาย ทบทวนความรู้เพื่อนำสู่เนื้อหาการทำความเข้าใจเพศวิถี จากมุมมองทางสังคมและวัฒนธรรม ใช้ Power Point Presentation และยกตัวอย่างกรณีศึกษา
(3) มอบหมายให้นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบ“เพศภาวะ และเพศ: ความหมาย และขอบเขต” (บทที่ 1) สำหรับสัปดาห์ที่ 2-3
2-3 ความหมายและขอบเขตของ เพศภาวะ (gender) กับ เพศ (sex) และ ความเป็นชาย (Masculinity) กับ ความเป็นหญิง (Femininity)
- ปัจจัยเและเงื่อนไขที่ส่งผลต่อเพศภาวะ
6
  • K1: นักศึกษาอธิบายประเด็นเกี่ยวกับเพศภาวะ ผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
(1) บรรยายเนื้อหาโดยใช้ Power Point Presentation และยกตัวอย่างกรณีศึกษา
(2) นักศึกษา เลือกอ่านบทความเกี่ยวกับเพศภาวะ สรุปเนื้อหา และวิจารณ์ตามประเด็นที่กำหนดให้ และนำเสนออภิปราย ในสัปดาห์ที่ 3
(3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา
(5) นักศึกษาทบทวนความรู้เพิ่มเติม ตามแหล่งข้อมูลที่ระบุใน บทที่ 1
4-5 เพศภาวะ วัฒนธรรม และ การขัดเกลาทางสังคม (Gender, Culture and Socialization) 6
  • K1: นักศึกษาอธิบายประเด็นเกี่ยวกับเพศภาวะ ผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
(1) บรรยายเนื้อหาโดยใช้ Power Point Presentation และยกตัวอย่างกรณีศึกษา
2. นักศึกษาแบ่งกลุ่มการวิเคราะห์ผ่าการชมภาพยนตร์สั้น เรื่อง barbie boy
6-8 การวิเคราะห์เพศภาวะ
- การแบ่งงาน และความสัมพันธ์หญิง-ชาย
- เพศภาวะ กับ มุมมองสตรีนิยม
- วิธีวิทยาการศึกษา/วิเคราะห์เพศภาวะ: ผู้กระทำการ
9
  • K2: นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
  • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องเพศภาวะ และประยุกต์ใช้แนวคิด เพื่อทำความเข้าใจ บทบาทและความสัมพันธ์หญิงชายในบริบททางวัฒนธรรมและสังคมที่หลากหลาย
(1) นักศึกษาศึกษาบทความประกอบการเรียน และแบ่งกลุ่มอภิปรายเนื้อหาร่วมกันในชั้นเรียน
(2) บรรยายเนื้อหาโดยใช้ Power Point Presentation และยกตัวอย่างประกอบ
(3) นักศึกษาทบทวนความรู้เพิ่มเติม
9 บทบาทหญิง-ชายในสังคมมิติต่างๆ ทั้งใน “พื้นที่สาธารณะ” และ “พื้นที่ส่วนตัว”
3
  • K2: นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
  • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องเพศภาวะ และประยุกต์ใช้แนวคิด เพื่อทำความเข้าใจ บทบาทและความสัมพันธ์หญิงชายในบริบททางวัฒนธรรมและสังคมที่หลากหลาย
1) อภิปรายในชั้นเรียน และฝึกการวิเคราะห์เพศภาวะ ใน “พื้นที่สาธารณะ” และ “พื้นที่ส่วนตัว” เพื่อให้เข้าใจบทบาทหญิง-ชายในสังคมมิติต่างๆ
2) อาจารย์สรุปประเด็นสำคัญ โดยใช้ Power Point Presentation
10 นำเสนอประเด็น และเค้าโครง การทำรายงาน และอภิปรายร่วมกัน
- หัวข้อ
- วัตถุประสงค์
- วิธีการรวบรวมข้อมูล
- แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล
3
  • K2: นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
  • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนการทางการวิจัยในการแสวงหาความรู้ เพื่อทำความเข้าใจเพสภาวะ และผลกระทบต่อบทบาท หน้าที่ ตำแหน่งแห่งที่ และความคาดหวังต่อหญิงและชายในสังคม
  • E1: มีความรับผิดขอบ มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม และเคารพในความแตกต่างระหว่างบุคคลในสังคม
(1) นักศึกษานำเสนอ หัวข้อการศึกษา วัตถุประสงค์ ประเด็นการศึกษา วิธีการศึกษา และแหล่งข้อมูล
(2) มีการอภิปราย วิเคราะห์ สะท้อนความเป็นไปได้และทิศทางการทำรายงาน
(3) นักศึกษาปรับแก้โครงการศึกษาตามข้อเสนอ จากการอภิปรายร่วมกัน
11 ข้อถกเถียงทางทฤษฎีเกี่ยวกับบทบาทและสัมพันธ์หญิง-ชาย
- ธรรมชาติ กับ วัฒนธรรม
- งานบ้าน กับ งานนอกบ้าน
- หญิง-ชาย กับ “พื้นที่”ทางสังคมและการพัฒนา: การเมืองเรื่องเพศ
3
  • K2: นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
(1) บรรยายและ สรุปประเด็นและข้อถกเถียงสำคัญ โดยใช้ Power Point Presentation
(2) นักศึกษานำเสนอความก้าวหน้าของการศึกษาอิสระ
12-13 การพัฒนาสตรี และการส่งเสริมบทบาทหญิง-ชายในสังคมไทย
- เพศภาวะ กับ สตรีนิยม
- กรอบแนวคิด WID, WAD, GAD
6
  • K2: นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
  • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องเพศภาวะ และประยุกต์ใช้แนวคิด เพื่อทำความเข้าใจ บทบาทและความสัมพันธ์หญิงชายในบริบททางวัฒนธรรมและสังคมที่หลากหลาย
(1) การบรรยายเนื้อหาโดยใช้ Power Point Presentation และยกตัวอย่างประกอบ
(3) นักศึกษาทบทวนความรู้เพิ่มเติมตามแหล่งข้อมูลที่ระบุในบทที่ 6-7 และทำคำถามท้ายบท
14-15 - นำเสนอรายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ ร่วมกันให้ข้อเสนอแนะ
- การสรุปประมวลความรู้ และข้อคิดเห็น/ข้อเสนอ แนะต่อการปรับรายวิชา
6
  • K1: นักศึกษาอธิบายประเด็นเกี่ยวกับเพศภาวะ ผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
  • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องเพศภาวะ และประยุกต์ใช้แนวคิด เพื่อทำความเข้าใจ บทบาทและความสัมพันธ์หญิงชายในบริบททางวัฒนธรรมและสังคมที่หลากหลาย
  • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนการทางการวิจัยในการแสวงหาความรู้ เพื่อทำความเข้าใจเพสภาวะ และผลกระทบต่อบทบาท หน้าที่ ตำแหน่งแห่งที่ และความคาดหวังต่อหญิงและชายในสังคม
  • S3: เพื่อพัฒนาทักษะการการพูด ฟัง อ่าน เขียน สื่อสารกับผู้อื่น และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • E1: มีความรับผิดขอบ มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม และเคารพในความแตกต่างระหว่างบุคคลในสังคม
(1) นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าในประเด็นที่ได้รับความเห็นชอบจากการเสนอหัวข้อและเค้าโครงในสัปดาห์ที่ 10
(2) มีการอภิปราย แลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน ระหว่างนักศึกษา และอาจารย์
(3) ประเมินการนำเสนอ ข้อสังเกต และให้ข้อเสนอต่อการปรับปรุงร่างรายงานฉบับสมบูรณ์
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
เข้าเรียน และมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
  • K1: นักศึกษาอธิบายประเด็นเกี่ยวกับเพศภาวะ ผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
  • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องเพศภาวะ และประยุกต์ใช้แนวคิด เพื่อทำความเข้าใจ บทบาทและความสัมพันธ์หญิงชายในบริบททางวัฒนธรรมและสังคมที่หลากหลาย
10 1-15
งานที่ได้รับมอบหมาย
งานเดี่ยว
  • K1: นักศึกษาอธิบายประเด็นเกี่ยวกับเพศภาวะ ผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
  • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องเพศภาวะ และประยุกต์ใช้แนวคิด เพื่อทำความเข้าใจ บทบาทและความสัมพันธ์หญิงชายในบริบททางวัฒนธรรมและสังคมที่หลากหลาย
  • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนการทางการวิจัยในการแสวงหาความรู้ เพื่อทำความเข้าใจเพสภาวะ และผลกระทบต่อบทบาท หน้าที่ ตำแหน่งแห่งที่ และความคาดหวังต่อหญิงและชายในสังคม
  • S3: เพื่อพัฒนาทักษะการการพูด ฟัง อ่าน เขียน สื่อสารกับผู้อื่น และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
10 สัปดาห์ที่ 3,5, 8-9
รายงานการประเด็นการศึกษาที่ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอน
งานกลุ่ม
  • K1: นักศึกษาอธิบายประเด็นเกี่ยวกับเพศภาวะ ผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
  • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องเพศภาวะ และประยุกต์ใช้แนวคิด เพื่อทำความเข้าใจ บทบาทและความสัมพันธ์หญิงชายในบริบททางวัฒนธรรมและสังคมที่หลากหลาย
  • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนการทางการวิจัยในการแสวงหาความรู้ เพื่อทำความเข้าใจเพสภาวะ และผลกระทบต่อบทบาท หน้าที่ ตำแหน่งแห่งที่ และความคาดหวังต่อหญิงและชายในสังคม
  • S3: เพื่อพัฒนาทักษะการการพูด ฟัง อ่าน เขียน สื่อสารกับผู้อื่น และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • E1: มีความรับผิดขอบ มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
30 สัปดาห์ที่ 14-15
สอบกลางภาค
  • K1: นักศึกษาอธิบายประเด็นเกี่ยวกับเพศภาวะ ผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
  • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องเพศภาวะ และประยุกต์ใช้แนวคิด เพื่อทำความเข้าใจ บทบาทและความสัมพันธ์หญิงชายในบริบททางวัฒนธรรมและสังคมที่หลากหลาย
  • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนการทางการวิจัยในการแสวงหาความรู้ เพื่อทำความเข้าใจเพสภาวะ และผลกระทบต่อบทบาท หน้าที่ ตำแหน่งแห่งที่ และความคาดหวังต่อหญิงและชายในสังคม
  • S3: เพื่อพัฒนาทักษะการการพูด ฟัง อ่าน เขียน สื่อสารกับผู้อื่น และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • E1: มีความรับผิดขอบ มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
25 ตามมหาวิทยาลัยกำหนด
สอบปลายภาค
  • K1: นักศึกษาอธิบายประเด็นเกี่ยวกับเพศภาวะ ผ่านมุมมองทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • K2: นักศึกษาอธิบาย แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับเรื่องเพศภาวะ ที่สัมพันธ์กับเรื่องทางวัฒนธรรม และ สังคม
  • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องเพศภาวะ และประยุกต์ใช้แนวคิด เพื่อทำความเข้าใจ บทบาทและความสัมพันธ์หญิงชายในบริบททางวัฒนธรรมและสังคมที่หลากหลาย
  • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนการทางการวิจัยในการแสวงหาความรู้ เพื่อทำความเข้าใจเพสภาวะ และผลกระทบต่อบทบาท หน้าที่ ตำแหน่งแห่งที่ และความคาดหวังต่อหญิงและชายในสังคม
  • S3: เพื่อพัฒนาทักษะการการพูด ฟัง อ่าน เขียน สื่อสารกับผู้อื่น และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • E1: มีความรับผิดขอบ มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
25
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
หนังสือ หรือ ตำรา ปราณี วงษ์เทศ. 2544. เพศและวัฒนธรรรม. กรุงเทพฯ : มติชน (หน้า 22-29, 82-102).
เอกสารประกอบการสอน พัชรินทร์ ลาภานันท์. 2561. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเพศภาวะ กับการพัฒนาสังคม. ขอนแก่น: สาขาสังมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หนังสือ หรือ ตำรา พัชรินทร์ ลาภานันท์. 2547. “เพศทางสังคมกับการพัฒนา” ใน แนวคิดและวิธีวิทยาในการศึกษาสังคมชนบท. มณีมัย ทองอยู่ (บก). ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (หน้า 107-128).
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ สุชาดา ทวีสิทธิ์ (บก). 2547. เพศภาวะ การท้าทายร่าง การค้นหาตัวตน. เชียงใหม่: ศูนย์สตรีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (หน้า 1-20, 127-162).
หนังสือ หรือ ตำรา Fausto-Sterling, Anne. 2012. Sex/Gender: Biology in a Social World. New York and London: Routledge.
หนังสือ หรือ ตำรา กาญจนา แก้วเทพ และ สมสุข หินวิมาน. 2551. สายธารแห่งนักคิด เศรษฐศาสตร์การเมือง กับสื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์ (หน้า 588-632).
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ดรุณี ตันติวิรมานนท์. 2541. “วิวัฒนาการของกระบวนการรณรงค์ประเด็นสตรี” ใน สตรีศึกษา. โครงการสตรีและเยาวชนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพิ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (หน้า 12-49).
หนังสือ หรือ ตำรา พัทยา เรือนแก้ว (บก). 2557. ผู้หญิงไทย และชุมชนไทยวันนี้ ในเยอรมนี. เบอร์ลิน: เครือข่ายคนไปในต่างแดน ประเทศเยอรมนี
หนังสือ หรือ ตำรา สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2541. ผู้หญิงอีสาน: ทางเลือก ศักยภาพ และแนวทางการพัฒนา. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Bell. Peter F. 1996. “Thailand’s Economic Miracle: Built on the Back of Women” in Virada Somswasdi & Sally Theobald (eds). Gender Relations and Development in Thai Society. Chiang Mai: Women’s Studies Center, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University (pp 55-82).
หนังสือ หรือ ตำรา Lapanun, Patcharin. 2019. Love, Money and Obligation: Transnational Marriage in a Northeastern Thai Village. Singapore: NUS Press.
หนังสือ หรือ ตำรา Mills, Mary B. 1999. Thai Women in the Global Labor Force: Consuming Desires, Contested Selves. New Brunwick, New Jersey and London: Rutgers University Press.
หนังสือ หรือ ตำรา Son, Johanna (ed). 2010. PIS Gender and Development Glossary. Bangkok: Asia-Pacific.
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
  • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ