Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาสังคมวิทยา
Sociology
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2565
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS477103
ภาษาไทย
Thai name
ทฤษฎีสังคมวิทยาประยุกต์
ภาษาอังกฤษ
English name
Applied Sociological Theories
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสังคมวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาสามารถอธิบายและวิเคราะห์ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีสังคมวิทยาพื้นฐานและทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์ได้
    • นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาทและทักษะของนักสังคมวิทยาประยุกต์
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษาสามารถใช้มุมมองทางสังคมวิทยาและเครื่องมือในการระบุ ตรวจสอบ และแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
      • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
      • มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีสังคมวิทยาพื้นฐานและทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์ บทบาทและทักษะของนักสังคมวิทยาประยุกต์ การใช้มุมมองทางสังคมวิทยาและเครื่องมือในการระบุ ตรวจสอบและแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน การประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Differences and relationships between basic sociological theory and applied sociological theory, the role and skills of the Applied Sociologist, employ sociological perspective and tools to identify, investigate and seek solutions to issues of structureaffecting everyday life; practical application of sociological theory current local and global issues
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 แนะนำรายวิชา กิจกรรมการเรียน การสอนการประเมินผล การนำเข้าสู่การเรียน 3
      • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
      • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
      แจกเอกสารประมวลรายวิชา เอกสารแผนการสอน Power Point กรณีศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ บทความวิชาการ บทความวิจัย และสื่อวิดิทัศน์ในระบบ google classroom ของรายวิชา
      -บรรยายออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ google meet
      - นักศึกษาอภิปรายกรณีศึกษา/บทความ
      - ซักถามและสรุปสาระสำคัญ
      2-3 ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีสังคมวิทยาพื้นฐานและทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์ 6
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายและวิเคราะห์ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีสังคมวิทยาพื้นฐานและทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์ได้
      • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
      • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
      แจก Power Point กรณีศึกษางานวิจัยที่ใช้ทฤษฎีทางสังคมวิทยาพื้นฐาน และทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์
      แจก Hand out สำหรับทำกิจกรรม google classroom ของรายวิชา
      -บรรยายออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ google meet
      - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
      -อาจารย์ร่วมอภิปรายและตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม

      4-5 บทบาทและทักษะของนักสังคมวิทยาประยุกต์ 6
      • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาทและทักษะของนักสังคมวิทยาประยุกต์
      • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
      • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
      -แจกเอกสารประกอบการสอน Power Point และ Hand out สำหรับทำกิจกรรม google classroom ของรายวิชา
      -บรรยายออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ google meet
      - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
      -อาจารย์ร่วมอภิปรายและตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม
      6-8 การใช้มุมมองทางสังคมวิทยาและเครื่องมือในการระบุ ตรวจสอบ และแสวงหาแนวทางแก้ไข 9
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายและวิเคราะห์ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีสังคมวิทยาพื้นฐานและทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์ได้
      • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาทและทักษะของนักสังคมวิทยาประยุกต์
      • S1: นักศึกษาสามารถใช้มุมมองทางสังคมวิทยาและเครื่องมือในการระบุ ตรวจสอบ และแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
      • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
      • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
      -แจกเอกสารประกอบการเรียนการสอน Power Point
      --บรรยายออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ google meet
      -มอบหมายให้นักศึกษาสืบค้นกรณีศึกษางานวิจัยที่ใช้ทฤษฎีทางสังคมวิทยาในการแก้ไขปัญหาในระดับต่างๆ
      -นักศึกษานำเสนอกรณีศึกษา
      - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
      -อาจารย์ร่วมอภิปรายและตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม
      9-10 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่น 6
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายและวิเคราะห์ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีสังคมวิทยาพื้นฐานและทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์ได้
      • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาทและทักษะของนักสังคมวิทยาประยุกต์
      • S1: นักศึกษาสามารถใช้มุมมองทางสังคมวิทยาและเครื่องมือในการระบุ ตรวจสอบ และแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
      • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
      • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
      แจกเอกสารประกอบการเรียนการสอน Power Point
      -บรรยายออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ google meet
      -ร่วมกันค้นคว้า กรณีศึกษาการใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่น
      - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
      -อาจารย์ร่วมอภิปรายและตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม
      -มอบหมายประเด็นการค้นคว้า “ตัวอย่างทฤษฎีสังคมวิทยาประยุกต์ และการใช้อธิบายปรากฎการณ์ทางสังคม
      11-12 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับโลก 6
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายและวิเคราะห์ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีสังคมวิทยาพื้นฐานและทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์ได้
      • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาทและทักษะของนักสังคมวิทยาประยุกต์
      • S1: นักศึกษาสามารถใช้มุมมองทางสังคมวิทยาและเครื่องมือในการระบุ ตรวจสอบ และแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
      • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
      • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
      -แจกเอกสารประกอบการเรียนการสอน Power Point
      -บรรยายออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ google meet
      -ร่วมกันค้นคว้า กรณีศึกษาการใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับโลก
      - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย-อาจารย์ร่วมอภิปรายและตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม
      -มอบหมายประเด็นการค้นคว้า “ทฤษฎีสังคมวิทยาประยุกต์ และการใช้อธิบายปรากฎการณ์ทางสังคม”
      13-14 ตัวอย่างทฤษฎีสังคมวิทยาประยุกต์ และการใช้อธิบายปรากฎการณ์ทางสังคม
      การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษา
      3
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายและวิเคราะห์ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีสังคมวิทยาพื้นฐานและทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์ได้
      • S1: นักศึกษาสามารถใช้มุมมองทางสังคมวิทยาและเครื่องมือในการระบุ ตรวจสอบ และแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
      • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
      • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
      -นักศึกษานำเสนอผลการค้นคว้า “ทฤษฎีสังคมวิทยาประยุกต์ และการใช้อธิบายปรากฎการณ์ทางสังคม”
      - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
      -อาจารย์ร่วมอภิปรายและตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม
      15 สรุปผลการเรียนรู้และประเมินผลการสอน 3
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายและวิเคราะห์ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีสังคมวิทยาพื้นฐานและทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์ได้
      • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาทและทักษะของนักสังคมวิทยาประยุกต์
      • S1: นักศึกษาสามารถใช้มุมมองทางสังคมวิทยาและเครื่องมือในการระบุ ตรวจสอบ และแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
      • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
      • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
      • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
      - นักศึกษาไปทบทวนและสังเคราะห์องค์ความรู้
      -นักศึกษาเขียนสรุปประเด็นสำคัญ
      ประเมินจากการนำเสนอชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
      รวมจำนวนชั่วโมง 42 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการค้นคว้าด้วยตนเอง
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายและวิเคราะห์ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีสังคมวิทยาพื้นฐานและทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์ได้
      • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาทและทักษะของนักสังคมวิทยาประยุกต์
      • S1: นักศึกษาสามารถใช้มุมมองทางสังคมวิทยาและเครื่องมือในการระบุ ตรวจสอบ และแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
      70% นักศึกษาส่งบันทึกการค้นคว้าด้วยตนเอง ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ผ่านระบบ google classroom ของรายวิชา
      การเขียนรายงานผลการศึกษา“ทฤษฎีสังคมวิทยาประยุกต์ และการใช้อธิบายปรากฎการณ์ทางสังคม”
      • K1: นักศึกษาสามารถอธิบายและวิเคราะห์ความแตกต่างและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีสังคมวิทยาพื้นฐานและทฤษฏีสังคมวิทยาประยุกต์ได้
      • K2: นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาทและทักษะของนักสังคมวิทยาประยุกต์
      • S1: นักศึกษาสามารถใช้มุมมองทางสังคมวิทยาและเครื่องมือในการระบุ ตรวจสอบ และแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
      • S2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีสังคมวิทยาในทางปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจและอธิบายประเด็นปัญหาในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
      30% นักศึกษาต้องนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษาในสัปดาห์ที่กำหนด
      สัดส่วนคะแนนรวม 0
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ตำราและเอกสารหลัก
      Ewan Ingleby. (2020). Applied Sociology for Social Work. SAGE Publications Ltd.
      Neil Thompson. (2017). Applied Sociology. New York, Routledge
      Samir Dasgupta and Robyn Driskell. (2007). Discourse on Applied Sociology: Volume 1: Theoretical Perspectives. Anthem Press
      Stephen F. Steele, Jammie Price. (2003). Applied Sociology: Terms, Topics, Tools, and Tasks. Thomson/Wadsworth
      เอกสารและข้อมูลสำคัญ
      Adriana Mica, in International Encyclopedia of the Social & Behavioral Sciences (Second Edition), 2015
      Alan Sica, in International Encyclopedia of the Social & Behavioral Sciences (Second Edition), 2015
      Jammie Price, Jeff Will, in International Encyclopedia of the Social & Behavioral Sciences (Second Edition), 2015
      Angelina W.K. Yuen-Tsang, Wang Si-bin, in International Encyclopedia of the Social & Behavioral Sciences (Second Edition), 2015.
      Larson, Calvin J. “Theory and Applied Sociology.” Journal of Applied Sociology, vol. 12, no. 2, 1995, pp. 13–29. JSTOR, http://www.jstor.org/stable/43481381. Accessed 12 Jun. 2022.
      STEELE, S. F. (1994). The Craft of Applied Sociology: Skills, Challenges, and Vision. Journal of Applied Sociology, 11, 1–10. http://www.jstor.org/stable/43481362
      เอกสารและข้อมูลแนะนำ
      https://www.encyclopedia.com/social-sciences/encyclopedias-almanacs-transcripts-and-maps/applied-sociology
      https://appliedworldwide.com/what-is-applied-sociology/
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)